ชื่อสินค้า:
พันธุ์ข้าว ข้าวเจ้า หอมมะลิแดง นาปี
รหัส:
382868
ประเภท:
ราคา:
1.00 บาท
/กิโลกรัม
ติดต่อ:
คุณคลินิกพืช คูลเกษตร
ที่อยู่ร้าน:
อ.ชุมตาบง จ.นครสวรรค์
ร้านนี้ยังไม่มีการแจ้งเลขทะเบียนพานิชย์
เปิดร้านมาแล้ว 2 ปี 2 เดือน
ไอดีไลน์:
โทรศัพท์:
คำเตือน: โปรดตรวจสอบความน่าเชื่อถือของร้าน เพื่อหลีกเลี่ยงการทุจริต การขอชำระเงินปลายทางเมื่อรับสินค้าถือเป็นอีกหนึ่งวิธีที่ดี
รายละเอียด
ชื่อพันธุ์
ข้าวหอมแดง (Red Hawn Rice)
ชื่อวิทยาศาสตร์
oryza sativa
สายพันธุ์ข้าว
ไวต่อช่วงแสง
ประเภทข้าว
ข้าวเจ้า
ประวัติสายพันธ์ุ
พ.ศ. 2525 – 2526 จากการตรวจสอบความบริสุทธิ์ของข้าวพันธุ์หลัก ขาวดอกมะลิ 105 ที่สถานีทดลองข้าวสุรินทร์ ซึ่งมีนายบุญโฮม ชำนาญกุล เป็นผู้อำนวยการสถานีในขณะนั้น พบว่า ในรวงข้าวจำนวนหนึ่งมีเมล็ดที่เป็นข้าวเหนียวปนอยู่ จึงแยกเมล็ดที่เป็นข้าวเหนียวปนอยู่ จึงแยกเมล็ดแต่ละรวงไปปลูกศึกษาลักษณะต่างๆ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2527 จากการแยกเมล็ดที่ปนอยู่กับข้าวขาวดอกมะลิ 105 ออกปลูกเป็นกอๆ และทำการศึกษาลักษณะของเมล็ดข้าวกล้อง พบว่ากอหนึ่งมีเยื่อหุ้มเมล็ด (Pericarp) ของข้าวกล้องสีแดงเรื่อๆ ซึ่งมีทั้งข้าวเหนียวและข้าวเจ้า ทางสถานีทดลองข้าวสุรินทร์จึงแยกชนิดข้าวเจ้า และข้าวเหนียวไว้ และให้ความสนใจเฉพาะที่เป็นข้าวเจ้า
พ.ศ. 2529 – 2530 เมล็ดข้าวแดงที่เชื่อว่ากลายพันธุ์มาจากข้าวขาวดอกมะลิ 105 โดยธรรมชาติ ถูกแบ่งและส่งไปปลูกที่ศูนย์วิจัยข้าวแพร่ และสถานีทดลองขาวโคกสำโรง โดยนักวิชาการที่สนใจใช้เวลาว่างปลูกบริเวณพื้นที่หัว / ท้ายแปลงทดลอง เพื่อศึกษาคัดเลือกและพัฒนาพันธุ์ต่อเป็นสายพันธุ์ต่างๆ
พ.ศ. 2531 นายบุญโฮม ชำนาญกุล ย้ายไปเป็นผู้อำนวยการศูนย์วิจัยข้าวพิษณุโลก ได้นำเอาเฉพาะเมล็ดข้าวเจ้าที่มีเยื่อหุ้มเมล็ดสีแดงไปปลูกคัดเลือกรวงและปลูกแบบรวงต่อแถว โดยมีข้าวแดงประมาณ 100 กว่าสายพันธุ์ และได้ทำการคัดเลือกสายพันธุ์ข้าวแดงหอมไว้ 50 สายพันธุ์
พ.ศ. 2533 มีเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลระบาดรุนแรง ปรากฏว่า มี 5 สายพันธุ์ ที่ไม่ถูกเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลทำลาย และได้ทำการคัดเลือกสายพันธุ์ดีเด่นเพียง 2 สายพันธุ์ คือ KDML105RPSL1 ซึ่งเป็นข้าวหนักและ KDML105RPSL2 ซึ่งเป็นข้าวเบา
พ.ศ. 2535 เกษตรกรที่อยู่ใกล้ศูนย์วิจัยข้าวพิษณุโลกได้นำเมล็ดข้าวสายพันธุ์ดีเด่น ไปปลูกและแปรรูปเป็นข้าวกล้องข้าวแดง จำหน่ายในชื่อ “ข้าวเสวย”
พ.ศ. 2536 พบว่า อายุสุกเก็บเกี่ยวของข้าวแดงหอมในแปลงเกษตรกรยังมีการกระจายตัว ศูนย์วิจัยข้าวพิษณุโลกจึงได้นำสายพันธุ์ข้าวเบาและข้าวหนักกลับมาคัดเลือกใหม่
พ.ศ. 2538 ได้สายพันธุ์ KDML105RPSLE14
พ.ศ. 2542 สถาบันวิจัยข้าวเสนอขึ้นทะเบียนกับกรมวิชาการเกษตร เป็น พันธุ์ข้าวทั่วไป โดยใช้ชื่อว่า ข้าวหอมแดง (Red Hawm Rice)
ลักษณะ
เป็นข้าวเจ้า สูงประมาณ 120 – 130 เซนติเมตร
ไวต่อช่วงแสง
อายุเก็บเกี่ยวประมาณ 20 พฤศจิกายน
ลำต้นแข็ง กอตั้ง
ใบสีเขียวอ่อน ใบโน้ม ใบธงตก
เมล็ดข้าวเปลือกสีฟาง
ระยะพักตัวของเมล็ดประมาณ 8 สัปดาห์
ท้องไข่น้อย
เมล็ดข้าวเปลือก ยาว x กว้าง x หนา = 9.6 x 3.9 x 2.3 มิลลิเมตร
เมล็ดข้าวกล้อง ยาว x กว้าง x หนา = 7.5 x 2.1 x 1.7 มิลลิเมตร
ปริมาณอมิโลส 16.9 %
ผลผลิต
643 กิโลกกรัม/ไร่
ลักษณะเด่น
เป็นข้าวที่มีเยื่อหุ้มเมล็ดสีแดงเข้ม
ข้าวสุกนุ่ม เหนียว และมีกลิ่นหอมเหมือนขาวดอกมะลิ 105
ต้านทานเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล ในสภาพธรรมชาติได้ดี
ค่อนข้างต้านทานโรคไหม้
ข้อควรระวัง
อ่อนแอต่อโรคใบสีส้ม โรคขอบใบแห้ง และโรคใบขีดโปร่งแสง
พื้นที่แนะนำ
ควรปลูกในพื้นที่เฉพาะ เพราะเป็นข้าวที่มีเยื่อหุ้มเมล็ดสีแดง การนำไปปลูกในแปลงข้าวขาวอาจทำให้ปะปนกัน
แหล่งที่มา
กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
พันธุ์ข้าวปลูก มาแล้วจ้าาาาา
ข้าวเจ้า หรือ ข้าวเหนียว มีครบจบที่ร้าน “คลินิกพืชคูลเกษตร”
สินค้ามีจำนวนจำกัด
มีบริการจัดส่งพร้อมชำระปลายทาง
มีหลากหลายสายพันธุ์ให้เลือก ไม่ว่าจะเป็น…
.
ข้าวเหนียว นาปรังและนาปี
สันป่าตอง 1 กข.14
หอมนาคา กข12 (หนองคาย 80)
แม่โจ้2 กข10 ธรรมดา
CP888 CP35
กข6 เตี้ย กข 22
น่าน 59 เขี้ยวงู
กข.6สูง กข18
หอมวิสุทธิ์ หอมนางนวล
ข้าวเหนียวลืมผัว กข.8
ธัญสิริน
.
ข้าวเจ้า นาปรังและนาปี
หอมพวง #5 แม่โจ้9
หอมพวง #20 กข.95
หอมปทุม พิษณุโลก 2
ชัยนาท1 กข.85
กข.63 กข.61
กข.47 ข้าวหอมธรรมศาสตร์
กข.49 กข.57
กข.93 กข.41
กข.43 กข.31
กข 89 5451
8/2 ข้าว CP999
กข.29 MGC1
กข79 หอมใบเตย
หอมมะลิ 105 กข 15
หอมสยาม กข51
เวสสันตระ
________________________________
ปรึกษาเรืองพืชออนไลน์ทั่วไทย ติดต่อมาได้ที แฟนเพจ คลินิกพืชคูลเกษตร 0952371723
แก้ไขข้อมูลเมื่อ 15 Feb 25 09:34
ข้าวหอมแดง (Red Hawn Rice)
ชื่อวิทยาศาสตร์
oryza sativa
สายพันธุ์ข้าว
ไวต่อช่วงแสง
ประเภทข้าว
ข้าวเจ้า
ประวัติสายพันธ์ุ
พ.ศ. 2525 – 2526 จากการตรวจสอบความบริสุทธิ์ของข้าวพันธุ์หลัก ขาวดอกมะลิ 105 ที่สถานีทดลองข้าวสุรินทร์ ซึ่งมีนายบุญโฮม ชำนาญกุล เป็นผู้อำนวยการสถานีในขณะนั้น พบว่า ในรวงข้าวจำนวนหนึ่งมีเมล็ดที่เป็นข้าวเหนียวปนอยู่ จึงแยกเมล็ดที่เป็นข้าวเหนียวปนอยู่ จึงแยกเมล็ดแต่ละรวงไปปลูกศึกษาลักษณะต่างๆ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2527 จากการแยกเมล็ดที่ปนอยู่กับข้าวขาวดอกมะลิ 105 ออกปลูกเป็นกอๆ และทำการศึกษาลักษณะของเมล็ดข้าวกล้อง พบว่ากอหนึ่งมีเยื่อหุ้มเมล็ด (Pericarp) ของข้าวกล้องสีแดงเรื่อๆ ซึ่งมีทั้งข้าวเหนียวและข้าวเจ้า ทางสถานีทดลองข้าวสุรินทร์จึงแยกชนิดข้าวเจ้า และข้าวเหนียวไว้ และให้ความสนใจเฉพาะที่เป็นข้าวเจ้า
พ.ศ. 2529 – 2530 เมล็ดข้าวแดงที่เชื่อว่ากลายพันธุ์มาจากข้าวขาวดอกมะลิ 105 โดยธรรมชาติ ถูกแบ่งและส่งไปปลูกที่ศูนย์วิจัยข้าวแพร่ และสถานีทดลองขาวโคกสำโรง โดยนักวิชาการที่สนใจใช้เวลาว่างปลูกบริเวณพื้นที่หัว / ท้ายแปลงทดลอง เพื่อศึกษาคัดเลือกและพัฒนาพันธุ์ต่อเป็นสายพันธุ์ต่างๆ
พ.ศ. 2531 นายบุญโฮม ชำนาญกุล ย้ายไปเป็นผู้อำนวยการศูนย์วิจัยข้าวพิษณุโลก ได้นำเอาเฉพาะเมล็ดข้าวเจ้าที่มีเยื่อหุ้มเมล็ดสีแดงไปปลูกคัดเลือกรวงและปลูกแบบรวงต่อแถว โดยมีข้าวแดงประมาณ 100 กว่าสายพันธุ์ และได้ทำการคัดเลือกสายพันธุ์ข้าวแดงหอมไว้ 50 สายพันธุ์
พ.ศ. 2533 มีเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลระบาดรุนแรง ปรากฏว่า มี 5 สายพันธุ์ ที่ไม่ถูกเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลทำลาย และได้ทำการคัดเลือกสายพันธุ์ดีเด่นเพียง 2 สายพันธุ์ คือ KDML105RPSL1 ซึ่งเป็นข้าวหนักและ KDML105RPSL2 ซึ่งเป็นข้าวเบา
พ.ศ. 2535 เกษตรกรที่อยู่ใกล้ศูนย์วิจัยข้าวพิษณุโลกได้นำเมล็ดข้าวสายพันธุ์ดีเด่น ไปปลูกและแปรรูปเป็นข้าวกล้องข้าวแดง จำหน่ายในชื่อ “ข้าวเสวย”
พ.ศ. 2536 พบว่า อายุสุกเก็บเกี่ยวของข้าวแดงหอมในแปลงเกษตรกรยังมีการกระจายตัว ศูนย์วิจัยข้าวพิษณุโลกจึงได้นำสายพันธุ์ข้าวเบาและข้าวหนักกลับมาคัดเลือกใหม่
พ.ศ. 2538 ได้สายพันธุ์ KDML105RPSLE14
พ.ศ. 2542 สถาบันวิจัยข้าวเสนอขึ้นทะเบียนกับกรมวิชาการเกษตร เป็น พันธุ์ข้าวทั่วไป โดยใช้ชื่อว่า ข้าวหอมแดง (Red Hawm Rice)
ลักษณะ
เป็นข้าวเจ้า สูงประมาณ 120 – 130 เซนติเมตร
ไวต่อช่วงแสง
อายุเก็บเกี่ยวประมาณ 20 พฤศจิกายน
ลำต้นแข็ง กอตั้ง
ใบสีเขียวอ่อน ใบโน้ม ใบธงตก
เมล็ดข้าวเปลือกสีฟาง
ระยะพักตัวของเมล็ดประมาณ 8 สัปดาห์
ท้องไข่น้อย
เมล็ดข้าวเปลือก ยาว x กว้าง x หนา = 9.6 x 3.9 x 2.3 มิลลิเมตร
เมล็ดข้าวกล้อง ยาว x กว้าง x หนา = 7.5 x 2.1 x 1.7 มิลลิเมตร
ปริมาณอมิโลส 16.9 %
ผลผลิต
643 กิโลกกรัม/ไร่
ลักษณะเด่น
เป็นข้าวที่มีเยื่อหุ้มเมล็ดสีแดงเข้ม
ข้าวสุกนุ่ม เหนียว และมีกลิ่นหอมเหมือนขาวดอกมะลิ 105
ต้านทานเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล ในสภาพธรรมชาติได้ดี
ค่อนข้างต้านทานโรคไหม้
ข้อควรระวัง
อ่อนแอต่อโรคใบสีส้ม โรคขอบใบแห้ง และโรคใบขีดโปร่งแสง
พื้นที่แนะนำ
ควรปลูกในพื้นที่เฉพาะ เพราะเป็นข้าวที่มีเยื่อหุ้มเมล็ดสีแดง การนำไปปลูกในแปลงข้าวขาวอาจทำให้ปะปนกัน
แหล่งที่มา
กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
พันธุ์ข้าวปลูก มาแล้วจ้าาาาา
ข้าวเจ้า หรือ ข้าวเหนียว มีครบจบที่ร้าน “คลินิกพืชคูลเกษตร”
สินค้ามีจำนวนจำกัด
มีบริการจัดส่งพร้อมชำระปลายทาง
มีหลากหลายสายพันธุ์ให้เลือก ไม่ว่าจะเป็น…
.
ข้าวเหนียว นาปรังและนาปี
สันป่าตอง 1 กข.14
หอมนาคา กข12 (หนองคาย 80)
แม่โจ้2 กข10 ธรรมดา
CP888 CP35
กข6 เตี้ย กข 22
น่าน 59 เขี้ยวงู
กข.6สูง กข18
หอมวิสุทธิ์ หอมนางนวล
ข้าวเหนียวลืมผัว กข.8
ธัญสิริน
.
ข้าวเจ้า นาปรังและนาปี
หอมพวง #5 แม่โจ้9
หอมพวง #20 กข.95
หอมปทุม พิษณุโลก 2
ชัยนาท1 กข.85
กข.63 กข.61
กข.47 ข้าวหอมธรรมศาสตร์
กข.49 กข.57
กข.93 กข.41
กข.43 กข.31
กข 89 5451
8/2 ข้าว CP999
กข.29 MGC1
กข79 หอมใบเตย
หอมมะลิ 105 กข 15
หอมสยาม กข51
เวสสันตระ
________________________________
ปรึกษาเรืองพืชออนไลน์ทั่วไทย ติดต่อมาได้ที แฟนเพจ คลินิกพืชคูลเกษตร 0952371723
แก้ไขข้อมูลเมื่อ 15 Feb 25 09:34
คำสำคัญ:
ข้าว
พันธุ์ข้าว