ชื่อสินค้า:
ต้นกระโดงแดง ไม้หายาก สูง80ซม.ถึงเมตรกว่า
รหัส:
382509
ประเภท:
ราคา:
800.00 บาท
/ต้น
ติดต่อ:
คุณปุณณภา งานสำเร็จ
ที่อยู่ร้าน:
อ.เมืองนครราชสีมา จ.นครราชสีมา
ร้านนี้ยังไม่มีการแจ้งเลขทะเบียนพานิชย์
เปิดร้านมาแล้ว 14 ปี 1 เดือน
ไอดีไลน์:
โทรศัพท์:
ค่าขนส่ง:
100 บาท
คำเตือน: โปรดตรวจสอบความน่าเชื่อถือของร้าน เพื่อหลีกเลี่ยงการทุจริต การขอชำระเงินปลายทางเมื่อรับสินค้าถือเป็นอีกหนึ่งวิธีที่ดี
รายละเอียด
กระโดงแดง ไม้หายาก น่าสะสม ต้นละ800บาท ความสูง80ซม.-เมตรกว่า
ชื่อท้องถิ่น: กระบกคาย (ศรีสะเกษ)/ ชมัน (สุรินทร์), ละโมก (ตราด)/ พิกุลป่า (นราธิวาส)/ ตาโยงฮูแต (มลายู-นราธิวาส)/ ประดงแดง (ชลบุรี)
ชื่อวิทยาศาสตร์: Bhesa robusta (Roxb.) Ding Hou
ชื่อวงศ์: CELASTRACEAE (วงศ์มะดูก)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์:
ต้นกระโดงแดง เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง 15-25 เมตร. มีพอนที่โคนต้น เรือนยอดเป็นพุ่มกลมยาว พุ่มใบแน่น เปลือกสีน้ำตาล ขรุขระ แตกเป็นร่องตื้นๆ ตามยาว เปลือกชั้นในเป็นเสี้ยนสีน้ำตาลอมเหลืองถึงสีน้ำตาลอมชมพู กิ่งอ่อนแบนเป็นเหลี่ยม มีหูใบรูปกรวยแหลมที่ปลายกิ่ง
ใบ เป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปขอบขนานหรือรูปรีแกมรูปขอบขนาน กว้าง 3-7 เซนติเมตร ยาว 8-17 เซนติเมตร ปลายแหลม โคนมนหรือแหลม ขอบเรียบแต่ย่นเป็นคลื่นห่างๆ แผ่นใบด้านบนสีเขียวเลื่อมเป็นมัน ด้านล่างสีจางกว่า เส้นแขนงใบขนานกันเว้นระยะห่างค่อนข้างสม่ำเสมอ ระหว่างเส้นแขนงใบมีเส้นขั้นบันได ก้านใบยาว 2.5-4 ซม. ปลายก้านใบที่ต่อกับแผ่นใบป่องและโค้งเล็กน้อย
ดอก ออกเป็นช่อแบบช่อกระจะตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ดอกมีขนาดเล็กสีเหลืองอมเขียว และก้านดอกสั้น ช่อดอกยาว 8-15 เซนติเมตร กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีอย่างละ 5 กลีบ เกสรเพศผู้ 5 อัน ติดอยู่รอบนอกจานฐานดอกที่ล้อมรอบฐานรังไข่ดอกบานเต็มที่กว้าง 6-8 เซนติเมตร
ผล รูปกรวยแหลม ส่วนปลายเป็นจะงอยโค้งเล็กน้อย กว้าง 0.8-1.2 เซนติเมตร ยาว 2.7-3.4 เซนติเมตร ผลแก่สีเหลืองและแตกออกตามรอยประสานด้านข้าง มี 1 เมล็ด
เมล็ด ลักษณะแข็ง รูปทรงรี กว้างประมาณ 9 มิลลิเมตร ยาว 2-2.5 เซนติเมตร มีเนื้อสีเหลืองหุ้มตลอดหรือเพียงบางส่วน
สภาพนิเวศวิทยา: ขึ้นในป่าดิบชื้นและป่าดิบแล้ง บนพื้นที่ไม่สูงจากระดับน้ำทะเลมากนัก แต่ทางภาคเหนือขึ้นได้ในป่าดิบเขาที่สูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 1,400 ม.
การกระจายพันธุ์: อินเดีย บังกลาเทศ พม่า ภูมิภาคอินโดจีน มาเลเซีย จนถึงเกาะสุมาตรา และบอร์เนียว
การปลูกและการขยายพันธุ์: ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด
สรรพคุณ:
-ตำรายาไทย
*ใบ รสขมเมา สรรพคุณ ระงับปราสาท แก้ปวดเมื่อยตามร่างกาย ทำให้นอนหลับสบาย
*แก่น ต้มดื่มเป็นน้ำชา สรพคุณ บำรุงเลือด บำรุงกำลัง บำรุงเลือด แก้ไขข้อมูลเมื่อ 23 Feb 24 10:40
ชื่อท้องถิ่น: กระบกคาย (ศรีสะเกษ)/ ชมัน (สุรินทร์), ละโมก (ตราด)/ พิกุลป่า (นราธิวาส)/ ตาโยงฮูแต (มลายู-นราธิวาส)/ ประดงแดง (ชลบุรี)
ชื่อวิทยาศาสตร์: Bhesa robusta (Roxb.) Ding Hou
ชื่อวงศ์: CELASTRACEAE (วงศ์มะดูก)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์:
ต้นกระโดงแดง เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง 15-25 เมตร. มีพอนที่โคนต้น เรือนยอดเป็นพุ่มกลมยาว พุ่มใบแน่น เปลือกสีน้ำตาล ขรุขระ แตกเป็นร่องตื้นๆ ตามยาว เปลือกชั้นในเป็นเสี้ยนสีน้ำตาลอมเหลืองถึงสีน้ำตาลอมชมพู กิ่งอ่อนแบนเป็นเหลี่ยม มีหูใบรูปกรวยแหลมที่ปลายกิ่ง
ใบ เป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปขอบขนานหรือรูปรีแกมรูปขอบขนาน กว้าง 3-7 เซนติเมตร ยาว 8-17 เซนติเมตร ปลายแหลม โคนมนหรือแหลม ขอบเรียบแต่ย่นเป็นคลื่นห่างๆ แผ่นใบด้านบนสีเขียวเลื่อมเป็นมัน ด้านล่างสีจางกว่า เส้นแขนงใบขนานกันเว้นระยะห่างค่อนข้างสม่ำเสมอ ระหว่างเส้นแขนงใบมีเส้นขั้นบันได ก้านใบยาว 2.5-4 ซม. ปลายก้านใบที่ต่อกับแผ่นใบป่องและโค้งเล็กน้อย
ดอก ออกเป็นช่อแบบช่อกระจะตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ดอกมีขนาดเล็กสีเหลืองอมเขียว และก้านดอกสั้น ช่อดอกยาว 8-15 เซนติเมตร กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีอย่างละ 5 กลีบ เกสรเพศผู้ 5 อัน ติดอยู่รอบนอกจานฐานดอกที่ล้อมรอบฐานรังไข่ดอกบานเต็มที่กว้าง 6-8 เซนติเมตร
ผล รูปกรวยแหลม ส่วนปลายเป็นจะงอยโค้งเล็กน้อย กว้าง 0.8-1.2 เซนติเมตร ยาว 2.7-3.4 เซนติเมตร ผลแก่สีเหลืองและแตกออกตามรอยประสานด้านข้าง มี 1 เมล็ด
เมล็ด ลักษณะแข็ง รูปทรงรี กว้างประมาณ 9 มิลลิเมตร ยาว 2-2.5 เซนติเมตร มีเนื้อสีเหลืองหุ้มตลอดหรือเพียงบางส่วน
สภาพนิเวศวิทยา: ขึ้นในป่าดิบชื้นและป่าดิบแล้ง บนพื้นที่ไม่สูงจากระดับน้ำทะเลมากนัก แต่ทางภาคเหนือขึ้นได้ในป่าดิบเขาที่สูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 1,400 ม.
การกระจายพันธุ์: อินเดีย บังกลาเทศ พม่า ภูมิภาคอินโดจีน มาเลเซีย จนถึงเกาะสุมาตรา และบอร์เนียว
การปลูกและการขยายพันธุ์: ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด
สรรพคุณ:
-ตำรายาไทย
*ใบ รสขมเมา สรรพคุณ ระงับปราสาท แก้ปวดเมื่อยตามร่างกาย ทำให้นอนหลับสบาย
*แก่น ต้มดื่มเป็นน้ำชา สรพคุณ บำรุงเลือด บำรุงกำลัง บำรุงเลือด แก้ไขข้อมูลเมื่อ 23 Feb 24 10:40
คำสำคัญ:
พันธุ์ไม้หายาก
ไม้หายาก