ชื่อสินค้า:
กำจัดหญ้า ในนาข้าว 8-10 ไร่ คูลเกษตร KP45
รหัส:
378223
ประเภท:
ราคา:
1.00 บาท
/ลิตร
ติดต่อ:
คุณคลินิกพืช คูลเกษตร
ที่อยู่ร้าน:
อ.ชุมตาบง จ.นครสวรรค์
ร้านนี้ยังไม่มีการแจ้งเลขทะเบียนพานิชย์
เปิดร้านมาแล้ว 1 ปี 11 เดือน
ไอดีไลน์:
โทรศัพท์:
คำเตือน: โปรดตรวจสอบความน่าเชื่อถือของร้าน เพื่อหลีกเลี่ยงการทุจริต การขอชำระเงินปลายทางเมื่อรับสินค้าถือเป็นอีกหนึ่งวิธีที่ดี
รายละเอียด
ชื่อสามัญ: โคลมาโซน+โพรพานิล
อัตราใช้ :
- ข้าวนาหว่านน้ำตม อัตรา 1 ขวด 1000 ลิตร ผสมน้ำ 200 ลิตร พื้นที่ 3-5 ไร่
- ฉีดพ่นหลังหว่านข้าว 7-12 วัน ก่อนพ่น ต้องไขน้ำออกและทดน้ำเข้านาหลังพ่น 2-3 วัน
คุณสมบัติ :
- เป็นสารกําจัดวัชพืชแบบเลือกทําลายในกลุ่ม isoxazolidinone 4 anilide มีฤทธิ์ดูดซึม ใช้หลังวัชพืชงอก
ประโยชน์ :
- กําจัดวัชพืชประเภทใบแคบ โดยเฉพาะหญ้าดอกขาว อื่นๆ เช่น หญ้านกสีชมพู หญ้าข้าวนก หญ้าแดง ประเภทใบกว้าง เช่น ผักปอดนาและเทียนนา และวัชพืชประเภทกก เช่น กกขนาก กกทรายและหนวดปลาดุก
ขนาดบรรจุ: 1 ลิตร
เอส-ซอร์บ สารเร่งการดูดซึม ขนาด 100 กรัม
ใช้สำหรับผสมสารกำจัดวัชพืชทุกชนิด เสริมฤทธิ์ บำรุงดิน
- ชือสามัญ: ฮิวมิค แอซิด 80 %
- ปรับสมดุลของดิน เพิ่มความชุ่มชท้นในดิน
- ช่วยเร่งการดูดซึมสารได้สูงขึ้น
ชื่อสามัญ: บิสไพริแบค-โซเดียม กำจัด หญ้าข้าวนก, หญ้าแดง และใบกว้าง เช่น ผักปอดนา, เทียนนา วัชพืชประเภทกก เช่น กกทราย, หนวดปลาดุก
อัตราใช้ : ข้าวอายุ 7-10 วัน หลังหว่านข้าว ใช้ 20 กรัม
- ข้าวอายุ 15-20 วัน หลังหว่านข้าว ใช้ 40 มิลลิลิตร พ่นบนพื้นที่ 1 ไร่ หรือใช้อัตรา 10 มิลลิลิตร ผสมน้ำ 15-20 ลิตร พ่นบนพื้นที่ 1 งาน
- คุณสมบัติ : ดูดซึมเข้าสู่ต้นวัชพืชได้ดีทางใบ หลังจากพ่นสาร 4-5 วัน วัชพืชจะเริ่มเหลือง และวัชพืชเริ่มตายภายในระยะ 15-20 วัน หลังพ่นสาร
- ประโยชน์ : ใช้กำจัดวัชพืชทั้งใบแคบ เช่น หญ้าข้าวนก หญ้าแดง และใบกว้าง เช่น ผักปอดนา เทียนนา วัชพืชประเภทกก เช่น กกทราย หนวดปลาดุก
- หมายเหตุ :ก่อนพ่นต้องระบายน้ำออกจากนา และทดน้ำเข้านาหลังพ่นสาร 2-3 วัน
ขนาดบรรจุ 100 กรัม
ชื่อสามัญ :อีมาเมกตินเบนโซเอต 5 SG 100กรัม
คุณสมบัติและประโยชน์ :เป็นสารจัดอยู่ในกลุ่มที่ 6 สารกำจัดแมลง ออกฤทธิ์เร็วถูกตัวตายและกินตายและมีผลทำลายระบบประสาททำให้หนอนหยุดกินในทันทีที่สัมผัส เช่น หนอนกระทู้,เพลี้ย
ใช้ป้องกันและกำจัดหนอนข้าวโพด ข้าว อ้อย หนอนม้วนใบ หนอนเจาะ หนอนใย หนอนกระทู้
อัตราแนะนำใช้ : 5 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร หรือ10 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นเมื่อพบการระบาด
________________________________
ปรึกษาเรื่องพืชออนไลน์ทั่วไทย ติดต่อมาได้ที่ แฟนเพจ คลินิกพืชคูลเกษตร
แก้ไขข้อมูลเมื่อ 08 Dec 23 10:44
อัตราใช้ :
- ข้าวนาหว่านน้ำตม อัตรา 1 ขวด 1000 ลิตร ผสมน้ำ 200 ลิตร พื้นที่ 3-5 ไร่
- ฉีดพ่นหลังหว่านข้าว 7-12 วัน ก่อนพ่น ต้องไขน้ำออกและทดน้ำเข้านาหลังพ่น 2-3 วัน
คุณสมบัติ :
- เป็นสารกําจัดวัชพืชแบบเลือกทําลายในกลุ่ม isoxazolidinone 4 anilide มีฤทธิ์ดูดซึม ใช้หลังวัชพืชงอก
ประโยชน์ :
- กําจัดวัชพืชประเภทใบแคบ โดยเฉพาะหญ้าดอกขาว อื่นๆ เช่น หญ้านกสีชมพู หญ้าข้าวนก หญ้าแดง ประเภทใบกว้าง เช่น ผักปอดนาและเทียนนา และวัชพืชประเภทกก เช่น กกขนาก กกทรายและหนวดปลาดุก
ขนาดบรรจุ: 1 ลิตร
เอส-ซอร์บ สารเร่งการดูดซึม ขนาด 100 กรัม
ใช้สำหรับผสมสารกำจัดวัชพืชทุกชนิด เสริมฤทธิ์ บำรุงดิน
- ชือสามัญ: ฮิวมิค แอซิด 80 %
- ปรับสมดุลของดิน เพิ่มความชุ่มชท้นในดิน
- ช่วยเร่งการดูดซึมสารได้สูงขึ้น
ชื่อสามัญ: บิสไพริแบค-โซเดียม กำจัด หญ้าข้าวนก, หญ้าแดง และใบกว้าง เช่น ผักปอดนา, เทียนนา วัชพืชประเภทกก เช่น กกทราย, หนวดปลาดุก
อัตราใช้ : ข้าวอายุ 7-10 วัน หลังหว่านข้าว ใช้ 20 กรัม
- ข้าวอายุ 15-20 วัน หลังหว่านข้าว ใช้ 40 มิลลิลิตร พ่นบนพื้นที่ 1 ไร่ หรือใช้อัตรา 10 มิลลิลิตร ผสมน้ำ 15-20 ลิตร พ่นบนพื้นที่ 1 งาน
- คุณสมบัติ : ดูดซึมเข้าสู่ต้นวัชพืชได้ดีทางใบ หลังจากพ่นสาร 4-5 วัน วัชพืชจะเริ่มเหลือง และวัชพืชเริ่มตายภายในระยะ 15-20 วัน หลังพ่นสาร
- ประโยชน์ : ใช้กำจัดวัชพืชทั้งใบแคบ เช่น หญ้าข้าวนก หญ้าแดง และใบกว้าง เช่น ผักปอดนา เทียนนา วัชพืชประเภทกก เช่น กกทราย หนวดปลาดุก
- หมายเหตุ :ก่อนพ่นต้องระบายน้ำออกจากนา และทดน้ำเข้านาหลังพ่นสาร 2-3 วัน
ขนาดบรรจุ 100 กรัม
ชื่อสามัญ :อีมาเมกตินเบนโซเอต 5 SG 100กรัม
คุณสมบัติและประโยชน์ :เป็นสารจัดอยู่ในกลุ่มที่ 6 สารกำจัดแมลง ออกฤทธิ์เร็วถูกตัวตายและกินตายและมีผลทำลายระบบประสาททำให้หนอนหยุดกินในทันทีที่สัมผัส เช่น หนอนกระทู้,เพลี้ย
ใช้ป้องกันและกำจัดหนอนข้าวโพด ข้าว อ้อย หนอนม้วนใบ หนอนเจาะ หนอนใย หนอนกระทู้
อัตราแนะนำใช้ : 5 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร หรือ10 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นเมื่อพบการระบาด
________________________________
ปรึกษาเรื่องพืชออนไลน์ทั่วไทย ติดต่อมาได้ที่ แฟนเพจ คลินิกพืชคูลเกษตร
แก้ไขข้อมูลเมื่อ 08 Dec 23 10:44