ชื่อสินค้า:
กำจัดหญ้า ในนาข้าว วัชพืชใบกว้าง คูลเกษตร KP37
รหัส:
378214
ประเภท:
ราคา:
1.00 บาท
/ลิตร
ติดต่อ:
คุณคลินิกพืช คูลเกษตร
ที่อยู่ร้าน:
อ.ชุมตาบง จ.นครสวรรค์
ร้านนี้ยังไม่มีการแจ้งเลขทะเบียนพานิชย์
เปิดร้านมาแล้ว 2 ปี 1 เดือน
ไอดีไลน์:
โทรศัพท์:
คำเตือน: โปรดตรวจสอบความน่าเชื่อถือของร้าน เพื่อหลีกเลี่ยงการทุจริต การขอชำระเงินปลายทางเมื่อรับสินค้าถือเป็นอีกหนึ่งวิธีที่ดี
รายละเอียด
ชื่อสามัญ : ไตรโคลเพอร์ บิวทอกซี่เอทิล เอสเทอร์ 250ซีซี
สารจำกัดวัชพืชใบกว้าง พืชเถา และพืชตระกูลกก
ประโยชน์ : ใช้พ่นหลังวัชพืชงอก (post-emergence) ดังนี้
วิธีใช้ : อ้อย *วัชพืชประเภบใบกว้าง ใช้อัตรา 160-240 มิลลิลิตร ผสมน้ำ 60-80 ลิตร พ่นบนพื้นที่ 1 ไร่ หรือ อัตรา 40-60 มิลลิลิตร ผสมน้ำ 15 – 20 ลิตร พ่นบนพื้นที่ 1 งาน
ปาล์มน้ำมัน *วัชพืชประเภบใบแคบ ใช้อัตรา 100-125 มิลลิลิตร ผสมน้ำ 60-80 ลิตร พ่นบนพื้นที่ 1 ไร่ หรือ อัตรา 25-31.25 มิลลิลิตร ผสมน้ำ 15-20 ลิตร พ่นบนพื้นที่ 1 งาน
*ฆ่าตอกระถิน ใช้อัตรา 5% ในน้ำมันดีเซล หรือ ใช้อัตรา 20 มิลลิลิตร ผสมน้ำมันดีเซล 1 ลิตร ทาบริเวณหน้าตัดตอกระถิน ขนาดเส้นรอบวงลำต้นเฉลี่ย 24-25 เซนติเมตร
วิธีการเก็บรักษา: ต้องเก็บ ไซทรอน ให้มิดชิดในภาชนะเดิมที่ปิดแน่นและมีฉลากติดอยู่ สถานที่เก็บต้องแห้งและเย็น ห่างจากเด็ก อาหาร น้ำดื่ม สัตว์เลี้ยงและเปลวไฟ
คำเตือน: โกดิน เป็นวัตถุอันตรายที่มีพิษ ต้องใช้ด้วยความระมัดระวัง เพื่อป้องกันมิให้เป็นอันตรายต่อผู้ใช้และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
ชื่อสามัญ :เบอร์โน ฟีโนซาพรอป-พี-เอทิล 250 ซีซี
สารกำจัดวัชพืชใบแคบ หญ้าลิเก หญ้าข้าวนก
คุณสมบัติ
• เป็นสารกำจัดวัชพืช
• ออกฤทธิ์กำจัดเฉพาะวัชพืชใบแคบเท่านั้น
• ออกฤทธิ์แบบดูดซึมและสัมผัสตาย
• ดูดซึมเข้าทางใบแล้วเคลื่อนย้ายลงสู่รากเหง้าใต้ดิน
• ดูดซึมเร็ว มีระยะปลอดฝนเพียง 3-5 ชัวโมง
ประโยชน์
• ใช้กำจัดวัชพืชใบแคบได้ทุกชนิด
วิธีใช้และอัตราการใช้
• ในช่วงหลังหว่านข้าว 7-10 วัน ใช้อัตรา 15 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร หรือ 150 ซีซีต่อน้ำ 200 ลิตร พ่นได้ 4-5 ไร่
• ในช่วงหลังหว่านข้าว 20-30 วัน ใช้อัตรา 30-40 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร พ่นเป็นจุดๆที่มีหญ้าใบแคบ
เอส-ซอร์บ สารเร่งการดูดซึม ขนาด 100 กรัม
ใช้สำหรับผสมสารกำจัดวัชพืชทุกชนิด เสริมฤทธิ์ บำรุงดิน
- ชือสามัญ: ฮิวมิค แอซิด 80 %
- ปรับสมดุลของดิน เพิ่มความชุ่มชท้นในดิน
- ช่วยเร่งการดูดซึมสารได้สูงขึ้น
- ช่วยพาสารกำจัดวัชพืชเข้าสู่ต้นรวดเร็ว- เพิ่มประสิทธิภาพให้วัชพืชตายเร็ว ตายนาน มากขึ้น
อัตราการใช้ 10 กรัม/น้ำ 20 ลิตร
ขนาดบรรจุ: 100 กรัม
________________
ปรึกษาเรืองพืชออนไลน์ทั่วไทย ติดต่อมาได้ที แฟนเพจ คลินิกพืชคูลเกษตร
แก้ไขข้อมูลเมื่อ 08 Dec 23 10:55
สารจำกัดวัชพืชใบกว้าง พืชเถา และพืชตระกูลกก
ประโยชน์ : ใช้พ่นหลังวัชพืชงอก (post-emergence) ดังนี้
วิธีใช้ : อ้อย *วัชพืชประเภบใบกว้าง ใช้อัตรา 160-240 มิลลิลิตร ผสมน้ำ 60-80 ลิตร พ่นบนพื้นที่ 1 ไร่ หรือ อัตรา 40-60 มิลลิลิตร ผสมน้ำ 15 – 20 ลิตร พ่นบนพื้นที่ 1 งาน
ปาล์มน้ำมัน *วัชพืชประเภบใบแคบ ใช้อัตรา 100-125 มิลลิลิตร ผสมน้ำ 60-80 ลิตร พ่นบนพื้นที่ 1 ไร่ หรือ อัตรา 25-31.25 มิลลิลิตร ผสมน้ำ 15-20 ลิตร พ่นบนพื้นที่ 1 งาน
*ฆ่าตอกระถิน ใช้อัตรา 5% ในน้ำมันดีเซล หรือ ใช้อัตรา 20 มิลลิลิตร ผสมน้ำมันดีเซล 1 ลิตร ทาบริเวณหน้าตัดตอกระถิน ขนาดเส้นรอบวงลำต้นเฉลี่ย 24-25 เซนติเมตร
วิธีการเก็บรักษา: ต้องเก็บ ไซทรอน ให้มิดชิดในภาชนะเดิมที่ปิดแน่นและมีฉลากติดอยู่ สถานที่เก็บต้องแห้งและเย็น ห่างจากเด็ก อาหาร น้ำดื่ม สัตว์เลี้ยงและเปลวไฟ
คำเตือน: โกดิน เป็นวัตถุอันตรายที่มีพิษ ต้องใช้ด้วยความระมัดระวัง เพื่อป้องกันมิให้เป็นอันตรายต่อผู้ใช้และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
ชื่อสามัญ :เบอร์โน ฟีโนซาพรอป-พี-เอทิล 250 ซีซี
สารกำจัดวัชพืชใบแคบ หญ้าลิเก หญ้าข้าวนก
คุณสมบัติ
• เป็นสารกำจัดวัชพืช
• ออกฤทธิ์กำจัดเฉพาะวัชพืชใบแคบเท่านั้น
• ออกฤทธิ์แบบดูดซึมและสัมผัสตาย
• ดูดซึมเข้าทางใบแล้วเคลื่อนย้ายลงสู่รากเหง้าใต้ดิน
• ดูดซึมเร็ว มีระยะปลอดฝนเพียง 3-5 ชัวโมง
ประโยชน์
• ใช้กำจัดวัชพืชใบแคบได้ทุกชนิด
วิธีใช้และอัตราการใช้
• ในช่วงหลังหว่านข้าว 7-10 วัน ใช้อัตรา 15 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร หรือ 150 ซีซีต่อน้ำ 200 ลิตร พ่นได้ 4-5 ไร่
• ในช่วงหลังหว่านข้าว 20-30 วัน ใช้อัตรา 30-40 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร พ่นเป็นจุดๆที่มีหญ้าใบแคบ
เอส-ซอร์บ สารเร่งการดูดซึม ขนาด 100 กรัม
ใช้สำหรับผสมสารกำจัดวัชพืชทุกชนิด เสริมฤทธิ์ บำรุงดิน
- ชือสามัญ: ฮิวมิค แอซิด 80 %
- ปรับสมดุลของดิน เพิ่มความชุ่มชท้นในดิน
- ช่วยเร่งการดูดซึมสารได้สูงขึ้น
- ช่วยพาสารกำจัดวัชพืชเข้าสู่ต้นรวดเร็ว- เพิ่มประสิทธิภาพให้วัชพืชตายเร็ว ตายนาน มากขึ้น
อัตราการใช้ 10 กรัม/น้ำ 20 ลิตร
ขนาดบรรจุ: 100 กรัม
________________
ปรึกษาเรืองพืชออนไลน์ทั่วไทย ติดต่อมาได้ที แฟนเพจ คลินิกพืชคูลเกษตร
แก้ไขข้อมูลเมื่อ 08 Dec 23 10:55