ชื่อสินค้า:
ปอฝ้าย หรือชื่อใหม่ตั้งกันว่าเสน่ห์นางพิม
รหัส:
378022
ประเภท:
ราคา:
800.00 บาท
/ต้น
ติดต่อ:
คุณปุณณภา งานสำเร็จ
ที่อยู่ร้าน:
อ.เมืองนครราชสีมา จ.นครราชสีมา
ร้านนี้ยังไม่มีการแจ้งเลขทะเบียนพานิชย์
เปิดร้านมาแล้ว 14 ปี 1 เดือน
ไอดีไลน์:
โทรศัพท์:
คำเตือน: โปรดตรวจสอบความน่าเชื่อถือของร้าน เพื่อหลีกเลี่ยงการทุจริต การขอชำระเงินปลายทางเมื่อรับสินค้าถือเป็นอีกหนึ่งวิธีที่ดี
รายละเอียด
ปอฝ้าย
ชื่ออื่น กาปี (ภาคใต้); ปอขาว (เชียงใหม่, แพร่); ปอจี้ (ภาคเหนือ); ปอเจ็ด (ภาคใต้); ปอแจ้ (ภาคเหนือ); ปอตู้บ (เชียงใหม่); ปอแป, ปอแปะ (เชียงใหม่, แพร่); ปอฝ้าย (ทั่วไป); ปอม้าไห้, ปอหูช้าง (เชียงใหม่); อุโลก (ภาคกลาง, ภาคใต้)
ชื่อสามัญ Bonfire tree
ชื่อวิทยาศาสตร์ Firmiana colorata (Roxb.) R.Br.
วงศ์ Malvaceae
ลักษณะ
ไม้ต้นผลัดใบ สูงได้ถึง 25 ม. ใบเรียงเวียน รูปรีกว้าง หรือรูปหัวใจ ยาว 8–25 ซม. จัก 3 หรือ 5 พู ปลายพูแหลมยาวหรือยาวคล้ายหาง มีขนรูปดาวประปรายตามเส้นแขนงใบด้านล่าง เส้นโคนใบ 5 หรือ 7 เส้น ก้านใบยาว 5–20 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง ออกที่ปลายกิ่งเหนือรอยแผลใบ ยาว 5–15 ซม. มีขนกระจุกรูปดาวละเอียดสีส้มอมแดงหนาแน่น ก้านดอกยาว 4–5 มม. ใบประดับคล้ายเกล็ด ดอกมีเพศเดียวหรือมีดอกสมบูรณ์เพศร่วมต้น กลีบเลี้ยงเป็นหลอด ยาว 1.2–2 ซม. ปลายแยก 5 แฉกตื้น ๆ ยาว 3–5 มม. ไม่มีกลีบดอก เกสรเพศผู้ 15 อัน เชื่อมติดกัน 5 มัด ติดที่ปลายก้านชูเกสรร่วม ที่ยาว 1–3 ซม. มีขนรูปดาวละเอียดประปราย รังไข่เกือบเกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมียสั้นมาก ยอดเกสรโค้ง ผลแตกเป็น 5 ส่วน ห้อยลง รูปขอบขนาน ยาว 5–7 ซม. เปลือกบาง มี 2–4 เมล็ด
พบที่ศรีลังกา อินเดียและหมู่เกาะอันดามัน จีนตอนใต้ ภูฏาน คาบสมุทรมลายู สุมาตรา ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามเขาหินปูนความสูง 100–1400 เมตร
ประโยชน์และสรรพคุณ
นิยมทำเป็นไม้แคระ เปลือกมีสรรพคุณแก้โรคดีซ่าน แก้ไขข้อมูลเมื่อ 13 Aug 23 07:44
ชื่ออื่น กาปี (ภาคใต้); ปอขาว (เชียงใหม่, แพร่); ปอจี้ (ภาคเหนือ); ปอเจ็ด (ภาคใต้); ปอแจ้ (ภาคเหนือ); ปอตู้บ (เชียงใหม่); ปอแป, ปอแปะ (เชียงใหม่, แพร่); ปอฝ้าย (ทั่วไป); ปอม้าไห้, ปอหูช้าง (เชียงใหม่); อุโลก (ภาคกลาง, ภาคใต้)
ชื่อสามัญ Bonfire tree
ชื่อวิทยาศาสตร์ Firmiana colorata (Roxb.) R.Br.
วงศ์ Malvaceae
ลักษณะ
ไม้ต้นผลัดใบ สูงได้ถึง 25 ม. ใบเรียงเวียน รูปรีกว้าง หรือรูปหัวใจ ยาว 8–25 ซม. จัก 3 หรือ 5 พู ปลายพูแหลมยาวหรือยาวคล้ายหาง มีขนรูปดาวประปรายตามเส้นแขนงใบด้านล่าง เส้นโคนใบ 5 หรือ 7 เส้น ก้านใบยาว 5–20 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง ออกที่ปลายกิ่งเหนือรอยแผลใบ ยาว 5–15 ซม. มีขนกระจุกรูปดาวละเอียดสีส้มอมแดงหนาแน่น ก้านดอกยาว 4–5 มม. ใบประดับคล้ายเกล็ด ดอกมีเพศเดียวหรือมีดอกสมบูรณ์เพศร่วมต้น กลีบเลี้ยงเป็นหลอด ยาว 1.2–2 ซม. ปลายแยก 5 แฉกตื้น ๆ ยาว 3–5 มม. ไม่มีกลีบดอก เกสรเพศผู้ 15 อัน เชื่อมติดกัน 5 มัด ติดที่ปลายก้านชูเกสรร่วม ที่ยาว 1–3 ซม. มีขนรูปดาวละเอียดประปราย รังไข่เกือบเกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมียสั้นมาก ยอดเกสรโค้ง ผลแตกเป็น 5 ส่วน ห้อยลง รูปขอบขนาน ยาว 5–7 ซม. เปลือกบาง มี 2–4 เมล็ด
พบที่ศรีลังกา อินเดียและหมู่เกาะอันดามัน จีนตอนใต้ ภูฏาน คาบสมุทรมลายู สุมาตรา ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามเขาหินปูนความสูง 100–1400 เมตร
ประโยชน์และสรรพคุณ
นิยมทำเป็นไม้แคระ เปลือกมีสรรพคุณแก้โรคดีซ่าน แก้ไขข้อมูลเมื่อ 13 Aug 23 07:44
คำสำคัญ:
ต้นเสน่ห์นางพิม
ไม้โขด