ชื่อสินค้า:
หญ้ารีแพร์ ขายเมล็ดพันธุ์/ต้นกล้า/ต้นสด/ต้นตากแห้ง
รหัส:
365395
ประเภท:
ราคา:
50.00 บาท
/ชุด
ติดต่อ:
คุณอังศรา ไพฑูรย์
ที่อยู่ร้าน:
อ.เมืองระยอง จ.ระยอง
ร้านนี้ยังไม่มีการแจ้งเลขทะเบียนพานิชย์
เปิดร้านมาแล้ว 7 ปี 9 เดือน
ไอดีไลน์:
โทรศัพท์:
คำเตือน: โปรดตรวจสอบความน่าเชื่อถือของร้าน เพื่อหลีกเลี่ยงการทุจริต การขอชำระเงินปลายทางเมื่อรับสินค้าถือเป็นอีกหนึ่งวิธีที่ดี
รายละเอียด
ขายหญ้ารีแพร์ ต้นถอนปักชำ1ชุด20เหง้า100บาท ต้นในกระถางต้นละกระถางละ50บาทต้นสดกก3กก100บาทต้นตากแห้งกก250บาทสนใจโทร0876069955ไอดีไลน์aungsara09จัดส่งทั่วประเทศเก็บเงินปลายทาง ประโยชน์หญ้ารีแพร์
1. หญ้ารีแพร์ถูกใช้ประโยชน์มากในแง่สมุนไพร โดยเฉพาะในสตรีหลังคลอดบุตรที่ช่วยให้ช่องคลอดกระชับ และมดลูกเข้าอู่ได้เร็วขึ้น ด้วยการต้มดื่มหรือคั้นน้ำทาบริเวณช่องคลอด นอกจากนั้น ยังใช้เพื่อการดูแลผิวพรรณให้แลดูสดใส
2. สารสกัดจากหญ้ารีแพร์ใช้เป็นเครื่องสำอาง อาทิ ครีมบำรุงผิว ครีมกันแดด ทำหน้าที่ช่วยให้ผิวพรรณชุ่มชื้น ผิวพรรณแลดูเปล่งปลั่ง นอกจากนั้น สารสกัดจากหญ้ารีแพร์ยังใช้เป็นส่วนผสมของอาหารเสริม ออกฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ และเสริมสร้างคอลลาเจน [3]
3. หญ้ารีแพร์ใช้ปลูกเป็นอาหารสัตว์เคี้ยวเอื้อง อาทิ โค กระบือ แพะ และแกะ เป็นต้น
4. หญ้ารีแพร์เป็นพืชเศรษฐกิจสมุนไพรตัวใหม่ ทั้งแบบเก็บจากแหล่งธรรมชาติ และการปลูกเพื่อจำหน่ายในรูปหญ้ารีแพร์สด และหญ้ารีแพร์แห้ง กลุ่มลูกค้าส่วนใหญ่เป็นสตรีหลังคลอดบุตร
การใช้ประโยชน์ในต่างประเทศ
1. ในมาเลเซียใช้หญ้ารีแพร์ต้มดื่ม ช่วยบำรุงร่างกาย ช่วยขับนิ่ว และขับปัสสาวะ
2. ประเทศในแถบแปซิฟิกใต้นิยมใช้หญ้ารีแพร์เป็นยาลดไข้หรือยาแก้ปวด ทั้งทำเป็นยาทาภายนอก และดื่มหรือรับประทานเป็นยาภายใน เช่น การนำหญ้ารีแพร์ หญ้าข้าวนก และหญ้าสนกระจับมาตำบดผสมกัน จากนั้น ห่อด้วยผ้าบางๆ ก่อนนำลงคั้นน้ำในภาชนะ แล้วดื่มหรือผสมกับน้ำมะพร้าวดื่ม ส่วนกากที่เหลือหลังการคั้นจะใช้ทาพอกรักษาแผลหรือประคบบริเวณที่มีอาการปวด
3. ชนพื้นเมืองที่อาศัยในหมู่เกาะ Rotunma และหมู่เกาะใกล้เคียงในมหาสมุทรแปซิฟิก นิยมใช้ใบหญ้ารีแพร์ต้มดื่มเพื่อรักษาโรคติดเชื้อ
4. บางประเทศในเอเชียใต้ นำหญ้ารีแพร์ต้มดื่มเพื่อรักษาเลือดออกในช่องคลอดหรือช่วยฟื้นฟูกล้ามเนื้อช่องคลอด ช่วยให้ช่องคลอดกระชับ รวมถึงช่วยให้มดลูกเข้าอู่เร็วได้เร็วขึ้น นอกจากนั้น ยังนำหญ้ารีแพร์มาบดทาพอกรักษาแผล [2]
สารสำคัญในหญ้ารีแพร์
1. Bamboo Silica
– ตามตำราอายุรเวทใช้พืชสกุลไผ่สำหรับบำรุงร่างกาย เพิ่มความแข็งแรงของกระดูก และเนื้อเยื่อ และช่วยรักษาแผลให้หายเร็ว
– เป็นสารที่ใช้ในการสร้างคอลลาเจน และน้ำไขข้อในร่างกาย มีคุณสมบัติที่สำคัญ คือ กระตุ้นการสร้างเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน (Connective Tissue) เพิ่มความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อ เพิ่มน้ำเมือกในช่องคลอด ทำให้หล่อลื่นได้ดีขึ้น
– ปริมาณซิลิกาในใบไผ่หรือพืชสกุลไผ่มีประมาณ 8.12-9.95%
– สารสกัดของใบไผ่หรือพืชสกุลไผ่มีสารต้านอนุมูลอิสระ ใช้เป็นส่วนผสมของเครื่องสำอางหลายชนิด มีสรรพคุณที่สำคัญ คือ ช่วยต้านการเสื่อมของเซลล์ ช่วยบำรุงผิว ช่วยเพิ่ม และรักษาความชุ่มชื้น
2. สารต้านอนุมูลอิสระ
สารสกัดหญ้ารีแพร์ประกอบด้วยสารสำคัญหลายชนิด อาทิ สารในกลุ่มฟีนอลิก (Phenolic Compounds) และฟลาโวนอยด์ (Flavonoids) สารเหล่านี้ ออกฤทธิ์สำคัญต้านอนุมูลอิสระ ป้องกันมะเร็ง และช่วยชะลอความแก่
3. สารยับยั้งการทำลายคอลลาเจน
สารสกัดหญ้ารีแพร์ออกฤทธิ์ยับยั้งการทำลายคอลลาเจน และช่วยเสริมสร้างคอลลาเจน โดยทำหน้าที่ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ Collagenase (MMP-1) และ gelatinase (MMP-2) ช่วยชะลอการถูกทำลายของคอลลาเจน (Collagen) และอีลาสติน (Elastin) ทำให้คงสภาพความแข็งแรง และความยืดหยุ่นของผิว เซลล์ผิวเสื่อมหรือเกิดริ้วรอยช้าลง [2]
สรรพคุณซิลิกาในหญ้ารีแพร์
1. รักษาสมดุล และซ่อมแซมโครงสร้างกระดูก และกล้ามเนื้อในร่างกาย รวมถึงช่วยในการดูดซึมแร่ธาตุที่สำคัญต่อระบบกระดูก และกล้ามเนื้อ อาทิ ฟอสฟอรัส แมกนีเซียม และแคลเซียม
2. ช่วยฟื้นฟูรักษาแผลให้หายเร็ว
3. ช่วยฟื้นฟู และเสริมการสร้างคอลลาเจนในเซลล์ผิว ทำให้ผิวพรรณแลดูเต่งตึง สดใส ลดการเกิดริ้วรอย
4. ช่วยฟื้นฟู และเสริมการสร้างคอลลาเจนในเซลล์กล้ามเนื้อ ทำให้กล้ามเนื้อกระชับ และทำงานได้เป็นปกติอย่างรวดเร็ว อาทิ กล้ามเนื้อภายในช่องคลอด
5. ต้านการติดเชื้อของแผล
6. ลดภาวะการเกิดโรคจากวัยที่หมดประจำเดือน
7. เพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ รักษาความชุ่มชื้นของเซลล์ผิว เพิ่มความยืดหยุ่น และความกระชับของเซลล์ผิว
8. ช่วยป้องกันโรคในช่องปาก และฟัน
9. ช่วยเสริมสร้างความแข็งแรง และความเงางามของเล็บ
10. ช่วยกระตุ้นการงอกของเซลล์เส้นผม ช่วยเพิ่มความแข็งแรง ความดกดำ และลดการหลุดของเส้นผม
11. เสริมสร้างความแข็งแรงของหลอดเลือด ป้องกันหลอดเลือดในสมองแตก
12. เสริมความแข็งแรงของเนื้อเยื่อปอด ช่วยให้ปอดทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และลดการติดเชื้อในปอด
13. ป้องกันนิ่วในไตในระบบทางเดินปัสสาวะ
14. ป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
15. กระตุ้นภูมิคุ้มกันของร่างกาย
16. ป้องกันการเกิดโรคอัลไซเมอร์ หรือโรคที่เกี่ยวข้องกับระบบประสาท และสมอง [3] แก้ไขข้อมูลเมื่อ 12 Oct 22 09:22
1. หญ้ารีแพร์ถูกใช้ประโยชน์มากในแง่สมุนไพร โดยเฉพาะในสตรีหลังคลอดบุตรที่ช่วยให้ช่องคลอดกระชับ และมดลูกเข้าอู่ได้เร็วขึ้น ด้วยการต้มดื่มหรือคั้นน้ำทาบริเวณช่องคลอด นอกจากนั้น ยังใช้เพื่อการดูแลผิวพรรณให้แลดูสดใส
2. สารสกัดจากหญ้ารีแพร์ใช้เป็นเครื่องสำอาง อาทิ ครีมบำรุงผิว ครีมกันแดด ทำหน้าที่ช่วยให้ผิวพรรณชุ่มชื้น ผิวพรรณแลดูเปล่งปลั่ง นอกจากนั้น สารสกัดจากหญ้ารีแพร์ยังใช้เป็นส่วนผสมของอาหารเสริม ออกฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ และเสริมสร้างคอลลาเจน [3]
3. หญ้ารีแพร์ใช้ปลูกเป็นอาหารสัตว์เคี้ยวเอื้อง อาทิ โค กระบือ แพะ และแกะ เป็นต้น
4. หญ้ารีแพร์เป็นพืชเศรษฐกิจสมุนไพรตัวใหม่ ทั้งแบบเก็บจากแหล่งธรรมชาติ และการปลูกเพื่อจำหน่ายในรูปหญ้ารีแพร์สด และหญ้ารีแพร์แห้ง กลุ่มลูกค้าส่วนใหญ่เป็นสตรีหลังคลอดบุตร
การใช้ประโยชน์ในต่างประเทศ
1. ในมาเลเซียใช้หญ้ารีแพร์ต้มดื่ม ช่วยบำรุงร่างกาย ช่วยขับนิ่ว และขับปัสสาวะ
2. ประเทศในแถบแปซิฟิกใต้นิยมใช้หญ้ารีแพร์เป็นยาลดไข้หรือยาแก้ปวด ทั้งทำเป็นยาทาภายนอก และดื่มหรือรับประทานเป็นยาภายใน เช่น การนำหญ้ารีแพร์ หญ้าข้าวนก และหญ้าสนกระจับมาตำบดผสมกัน จากนั้น ห่อด้วยผ้าบางๆ ก่อนนำลงคั้นน้ำในภาชนะ แล้วดื่มหรือผสมกับน้ำมะพร้าวดื่ม ส่วนกากที่เหลือหลังการคั้นจะใช้ทาพอกรักษาแผลหรือประคบบริเวณที่มีอาการปวด
3. ชนพื้นเมืองที่อาศัยในหมู่เกาะ Rotunma และหมู่เกาะใกล้เคียงในมหาสมุทรแปซิฟิก นิยมใช้ใบหญ้ารีแพร์ต้มดื่มเพื่อรักษาโรคติดเชื้อ
4. บางประเทศในเอเชียใต้ นำหญ้ารีแพร์ต้มดื่มเพื่อรักษาเลือดออกในช่องคลอดหรือช่วยฟื้นฟูกล้ามเนื้อช่องคลอด ช่วยให้ช่องคลอดกระชับ รวมถึงช่วยให้มดลูกเข้าอู่เร็วได้เร็วขึ้น นอกจากนั้น ยังนำหญ้ารีแพร์มาบดทาพอกรักษาแผล [2]
สารสำคัญในหญ้ารีแพร์
1. Bamboo Silica
– ตามตำราอายุรเวทใช้พืชสกุลไผ่สำหรับบำรุงร่างกาย เพิ่มความแข็งแรงของกระดูก และเนื้อเยื่อ และช่วยรักษาแผลให้หายเร็ว
– เป็นสารที่ใช้ในการสร้างคอลลาเจน และน้ำไขข้อในร่างกาย มีคุณสมบัติที่สำคัญ คือ กระตุ้นการสร้างเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน (Connective Tissue) เพิ่มความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อ เพิ่มน้ำเมือกในช่องคลอด ทำให้หล่อลื่นได้ดีขึ้น
– ปริมาณซิลิกาในใบไผ่หรือพืชสกุลไผ่มีประมาณ 8.12-9.95%
– สารสกัดของใบไผ่หรือพืชสกุลไผ่มีสารต้านอนุมูลอิสระ ใช้เป็นส่วนผสมของเครื่องสำอางหลายชนิด มีสรรพคุณที่สำคัญ คือ ช่วยต้านการเสื่อมของเซลล์ ช่วยบำรุงผิว ช่วยเพิ่ม และรักษาความชุ่มชื้น
2. สารต้านอนุมูลอิสระ
สารสกัดหญ้ารีแพร์ประกอบด้วยสารสำคัญหลายชนิด อาทิ สารในกลุ่มฟีนอลิก (Phenolic Compounds) และฟลาโวนอยด์ (Flavonoids) สารเหล่านี้ ออกฤทธิ์สำคัญต้านอนุมูลอิสระ ป้องกันมะเร็ง และช่วยชะลอความแก่
3. สารยับยั้งการทำลายคอลลาเจน
สารสกัดหญ้ารีแพร์ออกฤทธิ์ยับยั้งการทำลายคอลลาเจน และช่วยเสริมสร้างคอลลาเจน โดยทำหน้าที่ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ Collagenase (MMP-1) และ gelatinase (MMP-2) ช่วยชะลอการถูกทำลายของคอลลาเจน (Collagen) และอีลาสติน (Elastin) ทำให้คงสภาพความแข็งแรง และความยืดหยุ่นของผิว เซลล์ผิวเสื่อมหรือเกิดริ้วรอยช้าลง [2]
สรรพคุณซิลิกาในหญ้ารีแพร์
1. รักษาสมดุล และซ่อมแซมโครงสร้างกระดูก และกล้ามเนื้อในร่างกาย รวมถึงช่วยในการดูดซึมแร่ธาตุที่สำคัญต่อระบบกระดูก และกล้ามเนื้อ อาทิ ฟอสฟอรัส แมกนีเซียม และแคลเซียม
2. ช่วยฟื้นฟูรักษาแผลให้หายเร็ว
3. ช่วยฟื้นฟู และเสริมการสร้างคอลลาเจนในเซลล์ผิว ทำให้ผิวพรรณแลดูเต่งตึง สดใส ลดการเกิดริ้วรอย
4. ช่วยฟื้นฟู และเสริมการสร้างคอลลาเจนในเซลล์กล้ามเนื้อ ทำให้กล้ามเนื้อกระชับ และทำงานได้เป็นปกติอย่างรวดเร็ว อาทิ กล้ามเนื้อภายในช่องคลอด
5. ต้านการติดเชื้อของแผล
6. ลดภาวะการเกิดโรคจากวัยที่หมดประจำเดือน
7. เพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ รักษาความชุ่มชื้นของเซลล์ผิว เพิ่มความยืดหยุ่น และความกระชับของเซลล์ผิว
8. ช่วยป้องกันโรคในช่องปาก และฟัน
9. ช่วยเสริมสร้างความแข็งแรง และความเงางามของเล็บ
10. ช่วยกระตุ้นการงอกของเซลล์เส้นผม ช่วยเพิ่มความแข็งแรง ความดกดำ และลดการหลุดของเส้นผม
11. เสริมสร้างความแข็งแรงของหลอดเลือด ป้องกันหลอดเลือดในสมองแตก
12. เสริมความแข็งแรงของเนื้อเยื่อปอด ช่วยให้ปอดทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และลดการติดเชื้อในปอด
13. ป้องกันนิ่วในไตในระบบทางเดินปัสสาวะ
14. ป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
15. กระตุ้นภูมิคุ้มกันของร่างกาย
16. ป้องกันการเกิดโรคอัลไซเมอร์ หรือโรคที่เกี่ยวข้องกับระบบประสาท และสมอง [3] แก้ไขข้อมูลเมื่อ 12 Oct 22 09:22
คำสำคัญ:
เมล็ดหญ้า