ชื่อสินค้า:
ใบหมี่เหม็น
รหัส:
361908
ประเภท:
ราคา:
100.00 บาท
/1กก
ติดต่อ:
คุณพรเพ็ญ แสงเพชร
ที่อยู่ร้าน:
อ.พรานกระต่าย จ.กำแพงเพชร
ร้านนี้แจ้งเลขทะเบียนพานิชย์แล้ว
เปิดร้านมาแล้ว 3 ปี 5 เดือน
ไอดีไลน์:
โทรศัพท์:
คำเตือน: โปรดตรวจสอบความน่าเชื่อถือของร้าน เพื่อหลีกเลี่ยงการทุจริต การขอชำระเงินปลายทางเมื่อรับสินค้าถือเป็นอีกหนึ่งวิธีที่ดี
รายละเอียด
ตำรายาไทยจะใช้รากต้นหมี่เป็นยาบำรุงกำลัง (ราก)
รากใช้เป็นยาแก้ไข้ออกฝีเครือ (ราก)
เปลือกสดใช้อมแก้ปวดฟัน แก้ปากเหม็น (เปลือกต้น)
ช่วยแก้ลมเป็นก้อนในท้อง (ราก)
รากใช้ต้มกับน้ำกินเป็นยาแก้อาการท้องอืด ท้องร่วง (ราก)
เปลือกต้นมีรสฝาดเฝื่อน ใช้ต้มกับน้ำดื่มเป็นยาแก้บิด แก้ท้องเสีย (เปลือกต้น)
ใบมีสรรพคุณเป็นยาปัสสาวะ (ใบ)
ช่วยแก้ริดสีดวงแตก (ราก)
เปลือกต้นใช้ต้มกับน้ำดื่มเป็นยาแก้ปวดมดลูกของสตรี (เปลือกต้น)
ช่วยกระตุ้นความรู้สึกทางเพศ (ต้น)
รากและเปลือกต้นมีสรรพคุณเป็นยาฝาดสมาน (ราก, เปลือกต้น) ใบใช้ตำพอกรักษาบาดแผลเล็ก ๆ น้อย ๆ (ใบ) ส่วนยางใช้ตำพอกปิดทาแผล (ยาง)
เปลือกต้นนำมาบดให้เป็นผงใช้ผสมกับน้ำหรือน้ำนมทาแก้แผลอักเสบ และเป็นยาห้ามเลือด (เปลือกต้น)
ใช้แก้อาการระคายเคืองของผิวหนัง (ใบ)
ใบสดใช้ขยี้ทารักษากลากเกลื้อน (ใบ)
เปลือกต้นใช้ฝนทาแก้ผื่นคัน แสบร้อน (เปลือกต้น)
ใบและเมล็ดมีรสฝาดเฝื่อน ใช้ตำพอกรักษาฝี แก้ปวด (ใบและเมล็ด) ตำรับยาพื้นบ้านจะใช้เปลือกต้นหรือรากผสมกับเมล็ดหรือผลน้อยหน่าที่แห้งคาต้น ฝนกับน้ำทารอบฝีให้รัดหนองออกมา (เปลือกต้น, ราก)ส่วนตำรายาพื้นบ้านของจังหวัดอำนาจเจริญจะใช้รากต้นหมี่นำมาฝนทารักษาฝี (ราก)
เปลือกต้นใช้ฝนทาแก้พิษจากแมลงสัตว์กัดต่อย (เปลือกต้น) ส่วนใบใช้ขยี้ทาแก้พิษแมงมุม (ใบ)
ใบใช้เป็นยาถอนพิษร้อน (ใบ)
เมล็ดใช้เป็นยาถอนพิษอักเสบต่าง ๆ (เมล็ด)
ยางมีรสฝาดร้อน ใช้ตำพอกทาแก้ฟกช้ำ แก้ช้ำบวม (ยาง)
รากใช้เป็นยาแก้อาการปวดกล้ามเนื้อ (ราก) เปลือกต้นมีสรรพคุณช่วยแก้อาการเจ็บปวดตามกล้ามเนื้อ (เปลือกต้น)ส่วนผลดิบให้น้ำมันที่สามารถนำมาใช้เป็นยาถูนวดแก้ปวดได้ (ผลดิบ)
ช่วยถ่ายเส้นเอ็น ทำให้เส้นเอ็นอ่อน (เปลือกต้น)
บางท้องถิ่นจะนำรากมาตากให้แห้ง ดองกับเหล้าขาว กินเป็นยาแก้โรคเลือด เช่น ระดูมาไม่เป็นปกติ เป็นลมพิษ เป็นต้น (ราก)
รากใช้เป็นส่วนผสมของยาเย็น ยาผง ยาแก้ซาง (ราก)
ประโยชน์ของหมี่
ผลสุกใช้รับประทานได้
ใบใช้บ่มกล้วยให้สุกเร็ว หรือใช้รองปิดปากไหปลาร้ากันหนอน
ใบนำมาขยี้ผสมกับน้ำซาวข้าว ใช้เป็นยาสระผม ช่วยป้องกันรังแค และทำให้ผมนุ่ม หรือจะนำใบและยอดอ่อนมาผสมกับเปลือกต้นเถารางแดง ส้มป่อยหรือมะนาวหรือมะกรูด และน้ำด่าง (น้ำขี้เถ้า) นำมาผสมแล้วต้มรวมกัน แล้วนำน้ำที่ได้ไปสระผมก็ได้
ใบสดใช้เป็นยาพอกศีรษะเพื่อฆ่าเหา
ดอกนำมาตากแห้งอบน้ำหอม ประดิษฐ์เป็นของชำร่วย
ใบสามารถย้อมผ้าได้ โดยจะให้สีเขียว ส่วนเปลือกใช้ย้อมสีผ้า ย้อมแหให้ติดสี ผงจากเปลือกใช้ทำธูปจุดไล่แมลง
ยางของต้นใช้ทาเครื่องจักสานให้หนาและทนทาน และใช้ดักแมลงตัวเล็ก
เนื้อไม้ของต้นสามารถนำมาใช้ในการก่อสร้างบ้านเรือน เฟอร์นิเจอร์ หรือนำลำต้นมาใช้ทำฟืน
ใบหมี่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ในทางเครื่องสำอางได้ดี เพราะหาได้ง่าย ราคาไม่แพง เนื่องจากมีสารเมือก (mucilage) ที่สามารถนำมาใช้เป็นสารเคลือบผิวและผมในการปกป้องและให้ความชุ่มชื้นแก่ผิวและผม อีกทั้งสารสกัดจากใบยังมีสารสำคัญที่มีคุณสมบัติเป็นสารเพิ่มความหนืดให้กับผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางหรือยาที่ใช้ภายนอกได้อีกด้วย
ในด้านประเพณีและความเชื่อ บางท้องถิ่นจะใช้ใบนำมาห่อข้าวต้มประกอบในพิธีบายศรีสู่ขวัญ ใช้แก่นทำช่อฟ้าอุโบสถ ส่วนในด้านความเชื่อนั้น มีการขูดเปลือกเพื่อขอหวย ใช้ใบไล่ผี เวลาเดินทางไกลจะนำใบมาเหน็บบั้นเอวไว้ โดยเชื่อว่าจะทำให้หายจากอาการจุกเสียด นอกจากนี้ยังเชื่อว่าคนท้องที่สระผมด้วยใบหมี่กับน้ำซาวข้าวแล้วจะช่วยให้คลอดบุตรได้ง่ายขึ้น แก้ไขข้อมูลเมื่อ 08 Jan 23 05:11
รากใช้เป็นยาแก้ไข้ออกฝีเครือ (ราก)
เปลือกสดใช้อมแก้ปวดฟัน แก้ปากเหม็น (เปลือกต้น)
ช่วยแก้ลมเป็นก้อนในท้อง (ราก)
รากใช้ต้มกับน้ำกินเป็นยาแก้อาการท้องอืด ท้องร่วง (ราก)
เปลือกต้นมีรสฝาดเฝื่อน ใช้ต้มกับน้ำดื่มเป็นยาแก้บิด แก้ท้องเสีย (เปลือกต้น)
ใบมีสรรพคุณเป็นยาปัสสาวะ (ใบ)
ช่วยแก้ริดสีดวงแตก (ราก)
เปลือกต้นใช้ต้มกับน้ำดื่มเป็นยาแก้ปวดมดลูกของสตรี (เปลือกต้น)
ช่วยกระตุ้นความรู้สึกทางเพศ (ต้น)
รากและเปลือกต้นมีสรรพคุณเป็นยาฝาดสมาน (ราก, เปลือกต้น) ใบใช้ตำพอกรักษาบาดแผลเล็ก ๆ น้อย ๆ (ใบ) ส่วนยางใช้ตำพอกปิดทาแผล (ยาง)
เปลือกต้นนำมาบดให้เป็นผงใช้ผสมกับน้ำหรือน้ำนมทาแก้แผลอักเสบ และเป็นยาห้ามเลือด (เปลือกต้น)
ใช้แก้อาการระคายเคืองของผิวหนัง (ใบ)
ใบสดใช้ขยี้ทารักษากลากเกลื้อน (ใบ)
เปลือกต้นใช้ฝนทาแก้ผื่นคัน แสบร้อน (เปลือกต้น)
ใบและเมล็ดมีรสฝาดเฝื่อน ใช้ตำพอกรักษาฝี แก้ปวด (ใบและเมล็ด) ตำรับยาพื้นบ้านจะใช้เปลือกต้นหรือรากผสมกับเมล็ดหรือผลน้อยหน่าที่แห้งคาต้น ฝนกับน้ำทารอบฝีให้รัดหนองออกมา (เปลือกต้น, ราก)ส่วนตำรายาพื้นบ้านของจังหวัดอำนาจเจริญจะใช้รากต้นหมี่นำมาฝนทารักษาฝี (ราก)
เปลือกต้นใช้ฝนทาแก้พิษจากแมลงสัตว์กัดต่อย (เปลือกต้น) ส่วนใบใช้ขยี้ทาแก้พิษแมงมุม (ใบ)
ใบใช้เป็นยาถอนพิษร้อน (ใบ)
เมล็ดใช้เป็นยาถอนพิษอักเสบต่าง ๆ (เมล็ด)
ยางมีรสฝาดร้อน ใช้ตำพอกทาแก้ฟกช้ำ แก้ช้ำบวม (ยาง)
รากใช้เป็นยาแก้อาการปวดกล้ามเนื้อ (ราก) เปลือกต้นมีสรรพคุณช่วยแก้อาการเจ็บปวดตามกล้ามเนื้อ (เปลือกต้น)ส่วนผลดิบให้น้ำมันที่สามารถนำมาใช้เป็นยาถูนวดแก้ปวดได้ (ผลดิบ)
ช่วยถ่ายเส้นเอ็น ทำให้เส้นเอ็นอ่อน (เปลือกต้น)
บางท้องถิ่นจะนำรากมาตากให้แห้ง ดองกับเหล้าขาว กินเป็นยาแก้โรคเลือด เช่น ระดูมาไม่เป็นปกติ เป็นลมพิษ เป็นต้น (ราก)
รากใช้เป็นส่วนผสมของยาเย็น ยาผง ยาแก้ซาง (ราก)
ประโยชน์ของหมี่
ผลสุกใช้รับประทานได้
ใบใช้บ่มกล้วยให้สุกเร็ว หรือใช้รองปิดปากไหปลาร้ากันหนอน
ใบนำมาขยี้ผสมกับน้ำซาวข้าว ใช้เป็นยาสระผม ช่วยป้องกันรังแค และทำให้ผมนุ่ม หรือจะนำใบและยอดอ่อนมาผสมกับเปลือกต้นเถารางแดง ส้มป่อยหรือมะนาวหรือมะกรูด และน้ำด่าง (น้ำขี้เถ้า) นำมาผสมแล้วต้มรวมกัน แล้วนำน้ำที่ได้ไปสระผมก็ได้
ใบสดใช้เป็นยาพอกศีรษะเพื่อฆ่าเหา
ดอกนำมาตากแห้งอบน้ำหอม ประดิษฐ์เป็นของชำร่วย
ใบสามารถย้อมผ้าได้ โดยจะให้สีเขียว ส่วนเปลือกใช้ย้อมสีผ้า ย้อมแหให้ติดสี ผงจากเปลือกใช้ทำธูปจุดไล่แมลง
ยางของต้นใช้ทาเครื่องจักสานให้หนาและทนทาน และใช้ดักแมลงตัวเล็ก
เนื้อไม้ของต้นสามารถนำมาใช้ในการก่อสร้างบ้านเรือน เฟอร์นิเจอร์ หรือนำลำต้นมาใช้ทำฟืน
ใบหมี่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ในทางเครื่องสำอางได้ดี เพราะหาได้ง่าย ราคาไม่แพง เนื่องจากมีสารเมือก (mucilage) ที่สามารถนำมาใช้เป็นสารเคลือบผิวและผมในการปกป้องและให้ความชุ่มชื้นแก่ผิวและผม อีกทั้งสารสกัดจากใบยังมีสารสำคัญที่มีคุณสมบัติเป็นสารเพิ่มความหนืดให้กับผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางหรือยาที่ใช้ภายนอกได้อีกด้วย
ในด้านประเพณีและความเชื่อ บางท้องถิ่นจะใช้ใบนำมาห่อข้าวต้มประกอบในพิธีบายศรีสู่ขวัญ ใช้แก่นทำช่อฟ้าอุโบสถ ส่วนในด้านความเชื่อนั้น มีการขูดเปลือกเพื่อขอหวย ใช้ใบไล่ผี เวลาเดินทางไกลจะนำใบมาเหน็บบั้นเอวไว้ โดยเชื่อว่าจะทำให้หายจากอาการจุกเสียด นอกจากนี้ยังเชื่อว่าคนท้องที่สระผมด้วยใบหมี่กับน้ำซาวข้าวแล้วจะช่วยให้คลอดบุตรได้ง่ายขึ้น แก้ไขข้อมูลเมื่อ 08 Jan 23 05:11
คำสำคัญ:
หมีเหม็น