ชื่อสินค้า:
สมุนไพรสำมะงาใบสดกก100บาท
รหัส:
361231
ราคา:
100.00 บาท
/กิโลกรัม
ติดต่อ:
คุณอังศรา ไพฑูรย์
ที่อยู่ร้าน:
อ.เมืองระยอง จ.ระยอง
ร้านนี้ยังไม่มีการแจ้งเลขทะเบียนพานิชย์
เปิดร้านมาแล้ว 7 ปี 9 เดือน
ไอดีไลน์:
โทรศัพท์:
คำเตือน: โปรดตรวจสอบความน่าเชื่อถือของร้าน เพื่อหลีกเลี่ยงการทุจริต การขอชำระเงินปลายทางเมื่อรับสินค้าถือเป็นอีกหนึ่งวิธีที่ดี
รายละเอียด
สมุนไพรใบสำมะงา ใบสดกกละ100บาท สนใจโทร0876069955ไอดีไลน์aungsara09เก็บปลายทาง#เมล็ดละบาท #ต้น150บาท #สรรพคุณของสำมะงา
รากสํามะงามีรสขม ใช้เป็นยาแก้ไข้หวัด ด้วยการใช้รากแห้ง 30-60 กรัม นำมาต้มกับน้ำกิน โดยใช้ไฟอ่อน ๆ (ราก)
ใบมีรสขมเย็น แต่มีพิษ ใช้รักษาโรคมาลาเรีย (ใบ) ส่วนรากมีสรรพคุณเป็นยาแก้ไข้หวัด ตัวร้อน ไข้มาลาเรีย (ราก)
รากมีรสขมเป็นยาเย็น มีพิษและมีกลิ่นเหม็น มีสรรพคุณเป็นยาขับลมชื้น (ราก)
ช่วยแก้อาการปวดกระเพาะ (ราก)
ใบสํามะงามีสรรพคุณเป็นยาฆ่าพยาธิ (ใบ)
ช่วยแก้ตับอักเสบ แก้ตับและม้ามโต (ราก)
หากแผลมีเลือดออก ให้ใช้ใบตากแห้ง นำมาบดให้เป็นผงแล้วนำไปโรยบนแผล จะช่วยห้ามเลือดและสมานแผลสดได้ (ใบ)
ช่วยรักษาแผลเน่าเปื่อย ด้วยการใช้ใบนำมาตำพอกหรือต้มกับน้ำชะล้างก็ได้ หรืออาจตากให้แห้งแล้วบดเป็นผงทา หรือโรยบริเวณทีเป็น (ใบ)
ช่วยรักษาแผลฟกช้ำดำเขียวบวม อันเนื่องมาจากถูกกระทบกระแทก เอวเคล็ด เคล็ดขัดยอก ให้ใช้ใบสดตำผสมกับเหล้า ใช้ทาถูบริเวณที่ปวด (ใบ) ส่วนรากมีสรรพคุณแก้อาการบวมตามร่างกายบางส่วน หรือแผลบวมเจ็บที่เกิดจากการกระทบกระแทกเช่นเดียวกับใบ (ราก)
ทั้งต้นสดหรือต้นแห้ง มีรสเย็นเฝื่อน นำมาสับเป็นชิ้น ๆ ประมาณ 3-4 กิ่ง แล้วต้มกับน้ำอาบหรือใช้ชะล้างแผล ใช้รักษาโรคผิวหนังพุพอง และน้ำเหลืองเสีย (ทั้งต้น)
ใบสํามะงามีรสเย็นเฝื่อน ตำรายาไทยจะใบเป็นยาทาภายนอก โดยนำมาพอก ต้มกับน้ำอาบ หรือใช้ชะล้างตามร่างกาย หรือใช้ไอน้ำอบร่างกายเป็นยารักษาโรคผิวหนังกลากเกลื้อน แก้ฝี ประดง แก้หัด อีสุกอีใส ผดผื่นคันตามตัว และผื่นคันมีน้ำเหลือง (ใบ)
ช่วยรักษาอาการปวดข้อ ปวดประสาทที่ก้นกบ ให้ใช้รากแห้ง 30-60 กรัม นำมาต้มกับน้ำกิน แต่ต้องใช้ไฟอ่อน ๆ ในการต้ม (ราก)
ช่วยรักษาไขข้ออักเสบเนื่องจากลมชื้น ปวดเอวและขา แก้อาการปวดกระดูกสันหลังทับเส้นประสาท (ราก)
หมายเหตุ : การใช้ตาม ในส่วนของรากให้ใช้รากครั้งละ 10-15 กรัม นำมาต้มกับน้ำแช่จาหรือใช้ทำเป็นยาประคบ ส่วนใบและก้านไม่ควรนำมาต้มเป็นยารับประทาน เนื่องจากมีพิษ ควรนำมาใช้เป็นยาภายนอกเท่านั้น โดยขนาดที่ใช้ให้กะเอาตามความเหมาะสม
ข้อควรระวังในการใช้สมุนไพรสำมะงา
ยาชนิดนี้พบพิษที่ใบและก้าน ซึ่งใบจะมีพิษมากกว่าราก (รากมีพิษและมีกลิ่นเหม็น) ฉะนั้นห้ามนำมารับประทาน และควรใช้อย่างระมัดระวัง
ข้อมูลทางเภสัชวิทยาของสำมะงา
ใบสำมะงาจะมีสารที่ทำให้มีรสขมและละลายน้ำได้ ซึ่งเป็นสารจำพวกอัลคาลอยด์ (Alkaloids) อยู่หลายชนิด คือ pectolinarigenin, 4-methylscutellarein, unsaponified matters, cholesterol, higher fatty alcohols, steroids ฯลฯ นอกจากยังมีพวก resin, gum สารสีน้ำตาล เถาจากใบมีเกลือแดง (Sodium chloride) 24.01% ของเถ้าทั้งหมด
น้ำที่ได้จากการสกัดใบสำมะงา จะมีฤทธิ์กระตุ้นมดลูกของหนูใหญ่ที่แยกออกจากตัว และมีฤทธิ์เพิ่มความดันโลหิตของสุนัขที่ทำให้สลบชั่วคราว หรือถ้าให้ในปริมาณน้อยจะมีฤทธิ์กระตุ้นการบีบตัวของลำไส้
สารสกัดด้วยแอลกอฮอล์จากใบสำมะงาที่มีรสขม จะมีฤทธิ์กระตุ้นมดลูกของหนูใหญ่ที่กำลังมีท้อง และจากการสกัดแยกสารจำพวก Sterols จากพืชชนิดนี้ ไม่พบฮอร์โมนเพศหญิงหรือฮอร์โมนเพศชายหรือของต่อมเพศอื่น แก้ไขข้อมูลเมื่อ 28 Oct 24 02:19
รากสํามะงามีรสขม ใช้เป็นยาแก้ไข้หวัด ด้วยการใช้รากแห้ง 30-60 กรัม นำมาต้มกับน้ำกิน โดยใช้ไฟอ่อน ๆ (ราก)
ใบมีรสขมเย็น แต่มีพิษ ใช้รักษาโรคมาลาเรีย (ใบ) ส่วนรากมีสรรพคุณเป็นยาแก้ไข้หวัด ตัวร้อน ไข้มาลาเรีย (ราก)
รากมีรสขมเป็นยาเย็น มีพิษและมีกลิ่นเหม็น มีสรรพคุณเป็นยาขับลมชื้น (ราก)
ช่วยแก้อาการปวดกระเพาะ (ราก)
ใบสํามะงามีสรรพคุณเป็นยาฆ่าพยาธิ (ใบ)
ช่วยแก้ตับอักเสบ แก้ตับและม้ามโต (ราก)
หากแผลมีเลือดออก ให้ใช้ใบตากแห้ง นำมาบดให้เป็นผงแล้วนำไปโรยบนแผล จะช่วยห้ามเลือดและสมานแผลสดได้ (ใบ)
ช่วยรักษาแผลเน่าเปื่อย ด้วยการใช้ใบนำมาตำพอกหรือต้มกับน้ำชะล้างก็ได้ หรืออาจตากให้แห้งแล้วบดเป็นผงทา หรือโรยบริเวณทีเป็น (ใบ)
ช่วยรักษาแผลฟกช้ำดำเขียวบวม อันเนื่องมาจากถูกกระทบกระแทก เอวเคล็ด เคล็ดขัดยอก ให้ใช้ใบสดตำผสมกับเหล้า ใช้ทาถูบริเวณที่ปวด (ใบ) ส่วนรากมีสรรพคุณแก้อาการบวมตามร่างกายบางส่วน หรือแผลบวมเจ็บที่เกิดจากการกระทบกระแทกเช่นเดียวกับใบ (ราก)
ทั้งต้นสดหรือต้นแห้ง มีรสเย็นเฝื่อน นำมาสับเป็นชิ้น ๆ ประมาณ 3-4 กิ่ง แล้วต้มกับน้ำอาบหรือใช้ชะล้างแผล ใช้รักษาโรคผิวหนังพุพอง และน้ำเหลืองเสีย (ทั้งต้น)
ใบสํามะงามีรสเย็นเฝื่อน ตำรายาไทยจะใบเป็นยาทาภายนอก โดยนำมาพอก ต้มกับน้ำอาบ หรือใช้ชะล้างตามร่างกาย หรือใช้ไอน้ำอบร่างกายเป็นยารักษาโรคผิวหนังกลากเกลื้อน แก้ฝี ประดง แก้หัด อีสุกอีใส ผดผื่นคันตามตัว และผื่นคันมีน้ำเหลือง (ใบ)
ช่วยรักษาอาการปวดข้อ ปวดประสาทที่ก้นกบ ให้ใช้รากแห้ง 30-60 กรัม นำมาต้มกับน้ำกิน แต่ต้องใช้ไฟอ่อน ๆ ในการต้ม (ราก)
ช่วยรักษาไขข้ออักเสบเนื่องจากลมชื้น ปวดเอวและขา แก้อาการปวดกระดูกสันหลังทับเส้นประสาท (ราก)
หมายเหตุ : การใช้ตาม ในส่วนของรากให้ใช้รากครั้งละ 10-15 กรัม นำมาต้มกับน้ำแช่จาหรือใช้ทำเป็นยาประคบ ส่วนใบและก้านไม่ควรนำมาต้มเป็นยารับประทาน เนื่องจากมีพิษ ควรนำมาใช้เป็นยาภายนอกเท่านั้น โดยขนาดที่ใช้ให้กะเอาตามความเหมาะสม
ข้อควรระวังในการใช้สมุนไพรสำมะงา
ยาชนิดนี้พบพิษที่ใบและก้าน ซึ่งใบจะมีพิษมากกว่าราก (รากมีพิษและมีกลิ่นเหม็น) ฉะนั้นห้ามนำมารับประทาน และควรใช้อย่างระมัดระวัง
ข้อมูลทางเภสัชวิทยาของสำมะงา
ใบสำมะงาจะมีสารที่ทำให้มีรสขมและละลายน้ำได้ ซึ่งเป็นสารจำพวกอัลคาลอยด์ (Alkaloids) อยู่หลายชนิด คือ pectolinarigenin, 4-methylscutellarein, unsaponified matters, cholesterol, higher fatty alcohols, steroids ฯลฯ นอกจากยังมีพวก resin, gum สารสีน้ำตาล เถาจากใบมีเกลือแดง (Sodium chloride) 24.01% ของเถ้าทั้งหมด
น้ำที่ได้จากการสกัดใบสำมะงา จะมีฤทธิ์กระตุ้นมดลูกของหนูใหญ่ที่แยกออกจากตัว และมีฤทธิ์เพิ่มความดันโลหิตของสุนัขที่ทำให้สลบชั่วคราว หรือถ้าให้ในปริมาณน้อยจะมีฤทธิ์กระตุ้นการบีบตัวของลำไส้
สารสกัดด้วยแอลกอฮอล์จากใบสำมะงาที่มีรสขม จะมีฤทธิ์กระตุ้นมดลูกของหนูใหญ่ที่กำลังมีท้อง และจากการสกัดแยกสารจำพวก Sterols จากพืชชนิดนี้ ไม่พบฮอร์โมนเพศหญิงหรือฮอร์โมนเพศชายหรือของต่อมเพศอื่น แก้ไขข้อมูลเมื่อ 28 Oct 24 02:19