ชื่อสินค้า:
แก้วมังกรสีส้ม แก้วมังกรส้มโคลัมเบีย เปลือกสีส้มเนื้อในสีขาว
รหัส:
359181
ประเภท:
ราคา:
100.00 บาท
/กิ่ง
ติดต่อ:
คุณสุพัดตรา สอนจันทร์
ที่อยู่ร้าน:
อ.ด่านซ้าย จ.เลย
ร้านนี้ยังไม่มีการแจ้งเลขทะเบียนพานิชย์
เปิดร้านมาแล้ว 2 ปี 8 เดือน
ไอดีไลน์:
โทรศัพท์:
คำเตือน: โปรดตรวจสอบความน่าเชื่อถือของร้าน เพื่อหลีกเลี่ยงการทุจริต การขอชำระเงินปลายทางเมื่อรับสินค้าถือเป็นอีกหนึ่งวิธีที่ดี
รายละเอียด
แก้วมังกรสีส้มเนื้อสีขาว แก้วมังกรส้มโคลัมเบีย เปลือกส้มเนื้อในสีขาว ( Yellow Lamon Pitaya หรือ Frankies White Pitaya ) แก้วมังกรพันธุ์ที่หายาก ผลสวย ผิวสีส้ม กลีบเลี้ยงสั้นถี่ มีหนามที่กลีบ มองดูเหมือนเกล็ดถี่ๆ เนื้อในสีขาว หวานฉ่ำ หอมเย็นชื่นใจ กลิ่นเหมือนน้ำผึ้ง ผลไม้มากคุณค่าสารพัดประโยชน์ ดีต่อสุขภาพ กิ่งพันธุ์เป็นกิ่งชำและตัดสด ให้ผลดกปลูกไว้ทาน หรือ ไม้ประดับปลูกได้ทุกภาค
- กิ่งพันธุ์แบบมีรากสามารถนำไปปลูกต่อได้คุณลักษณะไม่เปลี่ยนแปลง
- สายพันธุ์แข็งแรงทนโรค
- ต้องการแสงแดด เต็มวัน
- อัตราการงอกในประเทศไทย 100%
อธิบาย กิ่งกราฟ
วิธีการขยายพันธุ์แก้วมังกรสายพันธุ์ดีด้วยการกราฟกิ่งแก้วมังกรเพื่อประหยัดต้นทุน
การกราฟแก้วมังกร คือการต่อกิ่ง เสียบกิ่ง ทาบกิ่ง นั้นเอง การขยายพันธุ์แก้วมังกรนั้นมีหลายวิธี เช่น การชำกิ่ง การเพาะเมล็ด การกราฟ การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ทุกอย่างขึ้นอยู่กับต้นทุน การกราฟแก้วมังกรเป็นวิธีทางเลือก 1 ที่หลายท่านเลือกปฏิบัติ
เนื่องจากการกราฟนั้นมีการเจริญเติบโตที่เร็วกว่าอย่างอื่นเมื่อแตกยอดแล้ว ยอดที่แตกจากการกราฟจะพุ่งเร็วกว่าปกติและยอดจะใหญ่กว่ายอดทั่วไปของสายพันธุ์เดี่ยวกันและทนทานต่อโรคได้ดี การกราฟแก้วมังกรสามารถทำได้ง่ายเพราะแก้วมังกรมีเนื้อเยื่อซึ่งทำให้การนำกิ่งมาต่อหรือมาติดนั้นสามารถติดกันได้ง่ายกว่าไม้ชนิดอื่นฐานที่นำมากราฟเรียกว่า (ตอ) ตอแก้วมังกรพันธุ์ดีสามารถเจริญเติบโตได้ดีเนื่องจากท่อนำเลี้ยงดีและเนื้อเยื่อเยอะเช่น สีขาวเวียดนาม ซึ่งมีแกนกลางที่สมบูรณ์ มีเนื้อเยื่ออวบนํ้าหุ้มอยู่รอบนอกเป็น 3 แฉก เป็นเนื้อเยื่อสะสมนํ้าและธาตุอาหารได้ดีซึ่งจะทำให้กิ่งที่นำมากราฟนั้นยิ่งสมบูรณ์เจริญเติบโตได้เร็วยิ่งขึ้น.
อุปกรณ์การกราฟกิ่งแก้วมังกร มีดคม หรือ คัตเตอร์ (เปลี่ยนใบมีดทุกครั้งเมื่อทำงาน) หรือมีแอลกอฮอล์ไว้เช็ด
กรรไกลตัดกิ่งคมๆ พาราฟิล์มหรือเทปกาวย่น ยางรัดถุง ถุงคุมหรือที่ห่อผลไม้ การเตรียมการก่อนกราฟกิ่งแก้วมังกร
ตอที่นำมากราฟกิ่งแก้วมังกรควรมีรากและเป็นกิ่งตอที่สมบูรณ์ไม่มีโรค เนื้อของกิ่งเยอะไม่เหี่ยว กิ่งแก้วมังกรที่นำมากราฟทำพันธุ์ควรเป็นกิ่งที่สมบูรณ์ ไม่มีโรคและควรเป็นกิ่งแก้วมังกรที่มีอายุ 6–17 เดือน ถ้าเกิน 1.5 ปี กิ่งแก้วมังกรจะมีแกนที่แข็งทำให้ตัดยากและเนื้อเยื่อติดช้าทำให้แตกยอดช้าด้วย. กิ่งอ่อนต่ำกว่า 6 เดือน ติดเร็วแต่แตกยอดช้าเช่นกับกิ่งที่แก่เกินไป แก้ไขข้อมูลเมื่อ 16 Apr 22 08:34
- กิ่งพันธุ์แบบมีรากสามารถนำไปปลูกต่อได้คุณลักษณะไม่เปลี่ยนแปลง
- สายพันธุ์แข็งแรงทนโรค
- ต้องการแสงแดด เต็มวัน
- อัตราการงอกในประเทศไทย 100%
อธิบาย กิ่งกราฟ
วิธีการขยายพันธุ์แก้วมังกรสายพันธุ์ดีด้วยการกราฟกิ่งแก้วมังกรเพื่อประหยัดต้นทุน
การกราฟแก้วมังกร คือการต่อกิ่ง เสียบกิ่ง ทาบกิ่ง นั้นเอง การขยายพันธุ์แก้วมังกรนั้นมีหลายวิธี เช่น การชำกิ่ง การเพาะเมล็ด การกราฟ การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ทุกอย่างขึ้นอยู่กับต้นทุน การกราฟแก้วมังกรเป็นวิธีทางเลือก 1 ที่หลายท่านเลือกปฏิบัติ
เนื่องจากการกราฟนั้นมีการเจริญเติบโตที่เร็วกว่าอย่างอื่นเมื่อแตกยอดแล้ว ยอดที่แตกจากการกราฟจะพุ่งเร็วกว่าปกติและยอดจะใหญ่กว่ายอดทั่วไปของสายพันธุ์เดี่ยวกันและทนทานต่อโรคได้ดี การกราฟแก้วมังกรสามารถทำได้ง่ายเพราะแก้วมังกรมีเนื้อเยื่อซึ่งทำให้การนำกิ่งมาต่อหรือมาติดนั้นสามารถติดกันได้ง่ายกว่าไม้ชนิดอื่นฐานที่นำมากราฟเรียกว่า (ตอ) ตอแก้วมังกรพันธุ์ดีสามารถเจริญเติบโตได้ดีเนื่องจากท่อนำเลี้ยงดีและเนื้อเยื่อเยอะเช่น สีขาวเวียดนาม ซึ่งมีแกนกลางที่สมบูรณ์ มีเนื้อเยื่ออวบนํ้าหุ้มอยู่รอบนอกเป็น 3 แฉก เป็นเนื้อเยื่อสะสมนํ้าและธาตุอาหารได้ดีซึ่งจะทำให้กิ่งที่นำมากราฟนั้นยิ่งสมบูรณ์เจริญเติบโตได้เร็วยิ่งขึ้น.
อุปกรณ์การกราฟกิ่งแก้วมังกร มีดคม หรือ คัตเตอร์ (เปลี่ยนใบมีดทุกครั้งเมื่อทำงาน) หรือมีแอลกอฮอล์ไว้เช็ด
กรรไกลตัดกิ่งคมๆ พาราฟิล์มหรือเทปกาวย่น ยางรัดถุง ถุงคุมหรือที่ห่อผลไม้ การเตรียมการก่อนกราฟกิ่งแก้วมังกร
ตอที่นำมากราฟกิ่งแก้วมังกรควรมีรากและเป็นกิ่งตอที่สมบูรณ์ไม่มีโรค เนื้อของกิ่งเยอะไม่เหี่ยว กิ่งแก้วมังกรที่นำมากราฟทำพันธุ์ควรเป็นกิ่งที่สมบูรณ์ ไม่มีโรคและควรเป็นกิ่งแก้วมังกรที่มีอายุ 6–17 เดือน ถ้าเกิน 1.5 ปี กิ่งแก้วมังกรจะมีแกนที่แข็งทำให้ตัดยากและเนื้อเยื่อติดช้าทำให้แตกยอดช้าด้วย. กิ่งอ่อนต่ำกว่า 6 เดือน ติดเร็วแต่แตกยอดช้าเช่นกับกิ่งที่แก่เกินไป แก้ไขข้อมูลเมื่อ 16 Apr 22 08:34
คำสำคัญ:
แก้วมังกร
กิ่งพันธุ์แก้วมังกร