ชื่อสินค้า:
เผือกป่าพังงา
รหัส:
356589
ประเภท:
ราคา:
200.00 บาท
/กระถาง?
ติดต่อ:
คุณอังศรา ไพฑูรย์
ที่อยู่ร้าน:
อ.เมืองระยอง จ.ระยอง
ร้านนี้ยังไม่มีการแจ้งเลขทะเบียนพานิชย์
เปิดร้านมาแล้ว 7 ปี 9 เดือน
ไอดีไลน์:
โทรศัพท์:
คำเตือน: โปรดตรวจสอบความน่าเชื่อถือของร้าน เพื่อหลีกเลี่ยงการทุจริต การขอชำระเงินปลายทางเมื่อรับสินค้าถือเป็นอีกหนึ่งวิธีที่ดี
รายละเอียด
#เผือกป่าพังงา เก็บเงินปลายทางสนใจโทร0876069955ไอดีไลน์aungsara09จัดส่งทั่วประเทศ
#สรรพคุณของเผือก
ช่วยบำรุงธาตุในร่างกาย (หัว)
ช่วยบำรุงร่างกายให้แข็งแรง ด้วยการใช้หัวเผือก 100 กรัม นำมาต้มใส่กับข้าวสวย 100 กรัม แล้วต้มให้เป็นโจ๊ก ใช้รับประทาน (หัว)
ใช้เป็นยาลดไข้ ด้วยการใช้หัวเผือก 100 กรัม นำมาต้มใส่กับข้าวสวย 100 กรัม ต้มให้เป็นโจ๊ก ใช้รับประทานจะช่วยทำให้ฟื้นไข้ได้เร็วขึ้น (หัว)
เผือกมีธาตุเหล็กและฟลูออไรด์สูง จึงช่วยป้องกันฟันผุ ช่วยทำให้กระดูกแข็งแรงได้ (หัว)
เผือกเป็นอาหารที่ช่วยบำรุงลำไส้และแก้อาการท้องเสียได้ด้วย (หัว)
ช่วยบำรุงไต (หัว)
ใช้เป็นยาทาแก้แมลงสัตว์กัดต่อย ด้วยการใช้หัวเผือกสดนำมาโขลกให้ละเอียด ผสมกับน้ำมันงาแล้วคลุกจนเข้ากัน แล้วนำมาใช้ทา (หัว)
น้ำยางใช้ถอนพิษจากแมลงสัตว์กัดต่อย (น้ำยาง)
ใช้รักษาโรคเรื้อนกวาง ด้วยการใช้ต้นกระเทียม 100 กรัม นำมาโขลกกับเผือกสดอีก 100 กรัม โดยโขลกให้ละเอียดเป็นเนื้อเดียวกัน แล้วนำมาใช้ทาบริเวณที่เป็นเรื้อนกวาง จะช่วยทำให้อาการดีขึ้น (หัว)
ช่วยแก้อาการอักเสบ ระงับอาการปวด (หัว)
หากมีอาการปวดเมื่อย ปวดเมื่อยเส้นเอ็น ปวดกระดูก ให้นำหัวเผือกสดมาโขลกให้ละเอียด ผสมกับน้ำมันงา คลุกจนเข้ากัน ใช้เป็นยาทาบริเวณที่มีอาการปวดเมื่อย (หัว)
#ประโยชน์ของเผือก
ใบ ก้านใบ และยอดของต้นเผือกสามารถนำมารับประทานเป็นผักได้ โดยก้านใบสามารถนำมาใช้ประกอบอาหารได้หลายอย่าง เช่น ทำแกง หรือนำไปทำเป็นผักดองโดยคุณค่าทางโภชนาการของใบต่อ 100 กรัม ประกอบไปด้วย วิตามินเอ 20,885 หน่วยสากล, วิตามินซี 142 มิลลิกรัม และคุณค่าทางโภชนาการของยอดต่อ 100 กรัม ประกอบไปด้วย วิตามินเอ 335 หน่วยสากล, วิตามินซี 8 มิลลิกรัม
หัวเผือกสามารถนำมาใช้ทำเป็นอาหารคาวหวานได้หลายอย่าง เช่น เผือกเชื่อม เผือกทอด เผือกรังนก เผือกเส้นกรอบเค็ม เผือกกวน เผือกบวดชี เผือกฉาบ เผือกอบเนย เผือกหิมะ แกงบวดเผือก ขนมบัวลอยเผือกมะพร้าวอ่อน สังขยาเผือก ข้าวอบเผือก ข้าวเหนียวปิ้งใส่เผือก เค้กเผือก หม้อแกงเผือก เม็ดขนุนเผือก ขนมเผือก ขนมกุยช่ายไส้เผือก หรือนำไปใช้กวนเป็นไส้ขนมต่าง ๆ หรือใช้ทำเป็นซุปเผือปลากะพง หัวปลาเผือกหม้อไฟ ข้าวต้มเผือก เผือกทรงเครื่อง
นอกจากนี้ยังนำมาใช้ทำเป็นแป้งเผือกเพื่อใช้ทำขนมต่าง ๆ เช่น ขนมปัง หรือทำอาหารทารก ทำเครื่องดื่ม ฯลฯ หรือใช้เป็นอาหารเพื่อป้องกันโรคแพ้บางอย่างของเด็กทารก และใช้แทนธัญพืชในการรักษาโรคเกี่ยวกับกระเพาะลำไส้
ใยนำมาต้มให้หมูกิน (กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอน)
หัวเผือกเป็นอาหารที่มีคาร์โบไฮเดรตสูง มีโปรตีน แคลเซียม ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม วิตามินบี 1 วิตามินซี และสารอาหารอื่น ๆ เกือบครบทุกชนิดที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย (แม้ว่าจะมีปริมาณไม่สูงมากนัก) เผือกจึงเป็นอาหารที่ให้พลังงานและบำรุงสุขภาพไปพร้อมกัน มีรสหวานจืดอมมันนิดหน่อย ย่อยได้ง่าย เหมาะทั้งเด็ก ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุ (แต่ไม่เหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการลดน้ำหนัก เพราะเผือกมีแคลอรีสูง) แต่ก็ควรรับประทานในปริมาณที่เหมาะสม จึงจะเป็นประโยชน์ต่อร่างกาย ในสมัยก่อนเวลาเดินป่า มักจะขุดหัวเผือก มารับประทานเป็นอาหารเพราะช่วยทำให้อิ่มได้เหมือนกับรับประทานข้าว โดยคุณค่าทางโภชนาการของหัวเผือกเฉพาะส่วนที่กินได้ ต่อ 100 กรัม ทางกรมส่งเสริมการเกษตรได้ระบุไว้ว่า ให้พลังงาน 117 กิโลแคลอรี, คาร์โบไฮเดรต 26.8 กรัม, โปรตีน 2.1 กรัม, ไขมัน 0.1 กรัม, วิตามินบี 1 0.15 มิลลิกรัม, วิตามินบี 2 0.04 มิลลิกรัม, วิตามินบี 3 1 มิลลิกรัม, วิตามินซี 2 มิลลิกรัม, แคลเซียม 84 มิลลิกรัม และฟอสฟอรัส 54 มิลลิกรัม[1]
#ข้อควรระวังในการรับประทานเผือก
หัวและทั้งต้นมีผลึกแคลเซียมออกซาเลต (Calcium oxalate) ซึ่งมีฤทธิ์ทำให้คัน จึงไม่ควรรับประทานแบบดิบ ๆ ต้องนำมาผ่านการต้มหรือหมักก่อนถึงจะรับประทานได้
สำหรับบางรายก็อาจมีอาการแพ้เผือกได้ แม้จะทำให้สุกแล้วก็ตาม โดยอาการที่พบ คือ คันในช่องปาก ทำให้ลิ้นชา เป็นต้น และการรับประทานเผือกในปริมาณมากเกินไปจะทำให้ม้ามทำงานได้อย่างไม่เป็นปกติ
เมนูเผือก
คุณค่าทางโภชนาการของหัวเผือกดิบ ต่อ 100 กรัม
พลังงาน 112 กิโลแคลอรี 7%
คาร์โบไฮเดรต 26.46 กรัม 20%
น้ำตาล 0.40 กรัม
เส้นใยอาหาร 4.1 กรัม 11%
ไขมัน 0.20 กรัม มากกว่า 1%
โปรตีน 1.5 กรัม 3%
น้ำ 70.64 กรัม
วิตามินเอ 76 หน่วยสากล 2.5%
วิตามินบี 1 0.095 มิลลิกรัม 8%
วิตามินบี 2 0.025 มิลลิกรัม 2%
วิตามินบี 3 0.600 มิลลิกรัม 4%
วิตามินบี 5 0.303 มิลลิกรัม 6%
วิตามินบี 6 0.283 มิลลิกรัม 23%
วิตามินบี 9 22 ไมโครกรัม 5.5%
วิตามินซี 4.5 มิลลิกรัม 7%
วิตามินอี 2.38 มิลลิกรัม 20%
วิคามินเค 1.0 ไมโครกรัม 1%
ธาตุแคลเซียม 43 มิลลิกรัม 4%
ธาตุเหล็ก 0.55 มิลลิกรัม 7%
ธาตุแมกนีเซียม 33 มิลลิกรัม 8%
ธาตุแมงกานีส 0.383 มิลลิกรัม 1.5%
ธาตุฟอสฟอรัส 84 มิลลิกรัม
ธาตุโพแทสเซียม 591 มิลลิกรัม 12.5%
ธาตุโซเดียม 11 มิลลิกรัม มากกว่า 1%
ธาตุสังกะสี 0.23 มิลลิกรัม 2%
ธาตุทองแดง 0.172 มิลลิกรัม 19%
ธาตุซีลีเนียม 0.7 ไมโครกรัม 1%
% ร้อยละของปริมาณแนะนำที่ร่างกายต้องการในแต่ละวันสำหรับผู้ใหญ่ (ข้อมูลจาก : USDA Nutrient database)
หัวเผือก
คุณค่าทางโภชนาการของใบเผือกดิบ ต่อ 100 กรัม
พลังงาน 42 กิโลแคลอรี
คาร์โบไฮเดรต 6.7 กรัม
น้ำตาล 3 กรัม
เส้นใยอาหาร 3.7 กรัม
ไขมัน 0.74 กรัม
โปรตีน 5 กรัม
วิตามินเอ 241 ไมโครกรัม 30%
เบตาแคโรทีน 2,895 ไมโครกรัม 27%
ลูทีนและซีแซนทีน 1,932 ไมโครกรัม
วิตามินบี 1 0.209 มิลลิกรัม 18%
วิตามินบี 2 0.456 มิลลิกรัม 38%
วิตามินบี 3 1.513 มิลลิกรัม 10%
วิตามินบี 6 0.146 มิลลิกรัม 11%
วิตามินบี 9 129 ไมโครกรัม 32%
วิตามินซี 52 มิลลิกรัม 63%
วิตามินอี 2.02 มิลลิกรัม 13%
วิคามินเค 108.6 ไมโครกรัม 103%
ธาตุแคลเซียม 107 มิลลิกรัม 11%
ธาตุเหล็ก 2.25 มิลลิกรัม 17%
ธาตุแมกนีเซียม 45 มิลลิกรัม 13%
ธาตุแมงกานีส 0.714 มิลลิกรัม 34%
ธาตุฟอสฟอรัส 60 มิลลิกรัม 9%
ธาตุโพแทสเซียม 648 มิลลิกรัม 14%
ธาตุสังกะสี 0.41 มิลลิกรัม 4%
% ร้อยละของปริมาณแนะนำที่ร่างกายต้องการในแต่ละวันสำหรับผู้ใหญ่ (ข้อมูลจาก : USDA Nutrient database) แก้ไขข้อมูลเมื่อ 31 Jan 22 09:15
#สรรพคุณของเผือก
ช่วยบำรุงธาตุในร่างกาย (หัว)
ช่วยบำรุงร่างกายให้แข็งแรง ด้วยการใช้หัวเผือก 100 กรัม นำมาต้มใส่กับข้าวสวย 100 กรัม แล้วต้มให้เป็นโจ๊ก ใช้รับประทาน (หัว)
ใช้เป็นยาลดไข้ ด้วยการใช้หัวเผือก 100 กรัม นำมาต้มใส่กับข้าวสวย 100 กรัม ต้มให้เป็นโจ๊ก ใช้รับประทานจะช่วยทำให้ฟื้นไข้ได้เร็วขึ้น (หัว)
เผือกมีธาตุเหล็กและฟลูออไรด์สูง จึงช่วยป้องกันฟันผุ ช่วยทำให้กระดูกแข็งแรงได้ (หัว)
เผือกเป็นอาหารที่ช่วยบำรุงลำไส้และแก้อาการท้องเสียได้ด้วย (หัว)
ช่วยบำรุงไต (หัว)
ใช้เป็นยาทาแก้แมลงสัตว์กัดต่อย ด้วยการใช้หัวเผือกสดนำมาโขลกให้ละเอียด ผสมกับน้ำมันงาแล้วคลุกจนเข้ากัน แล้วนำมาใช้ทา (หัว)
น้ำยางใช้ถอนพิษจากแมลงสัตว์กัดต่อย (น้ำยาง)
ใช้รักษาโรคเรื้อนกวาง ด้วยการใช้ต้นกระเทียม 100 กรัม นำมาโขลกกับเผือกสดอีก 100 กรัม โดยโขลกให้ละเอียดเป็นเนื้อเดียวกัน แล้วนำมาใช้ทาบริเวณที่เป็นเรื้อนกวาง จะช่วยทำให้อาการดีขึ้น (หัว)
ช่วยแก้อาการอักเสบ ระงับอาการปวด (หัว)
หากมีอาการปวดเมื่อย ปวดเมื่อยเส้นเอ็น ปวดกระดูก ให้นำหัวเผือกสดมาโขลกให้ละเอียด ผสมกับน้ำมันงา คลุกจนเข้ากัน ใช้เป็นยาทาบริเวณที่มีอาการปวดเมื่อย (หัว)
#ประโยชน์ของเผือก
ใบ ก้านใบ และยอดของต้นเผือกสามารถนำมารับประทานเป็นผักได้ โดยก้านใบสามารถนำมาใช้ประกอบอาหารได้หลายอย่าง เช่น ทำแกง หรือนำไปทำเป็นผักดองโดยคุณค่าทางโภชนาการของใบต่อ 100 กรัม ประกอบไปด้วย วิตามินเอ 20,885 หน่วยสากล, วิตามินซี 142 มิลลิกรัม และคุณค่าทางโภชนาการของยอดต่อ 100 กรัม ประกอบไปด้วย วิตามินเอ 335 หน่วยสากล, วิตามินซี 8 มิลลิกรัม
หัวเผือกสามารถนำมาใช้ทำเป็นอาหารคาวหวานได้หลายอย่าง เช่น เผือกเชื่อม เผือกทอด เผือกรังนก เผือกเส้นกรอบเค็ม เผือกกวน เผือกบวดชี เผือกฉาบ เผือกอบเนย เผือกหิมะ แกงบวดเผือก ขนมบัวลอยเผือกมะพร้าวอ่อน สังขยาเผือก ข้าวอบเผือก ข้าวเหนียวปิ้งใส่เผือก เค้กเผือก หม้อแกงเผือก เม็ดขนุนเผือก ขนมเผือก ขนมกุยช่ายไส้เผือก หรือนำไปใช้กวนเป็นไส้ขนมต่าง ๆ หรือใช้ทำเป็นซุปเผือปลากะพง หัวปลาเผือกหม้อไฟ ข้าวต้มเผือก เผือกทรงเครื่อง
นอกจากนี้ยังนำมาใช้ทำเป็นแป้งเผือกเพื่อใช้ทำขนมต่าง ๆ เช่น ขนมปัง หรือทำอาหารทารก ทำเครื่องดื่ม ฯลฯ หรือใช้เป็นอาหารเพื่อป้องกันโรคแพ้บางอย่างของเด็กทารก และใช้แทนธัญพืชในการรักษาโรคเกี่ยวกับกระเพาะลำไส้
ใยนำมาต้มให้หมูกิน (กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอน)
หัวเผือกเป็นอาหารที่มีคาร์โบไฮเดรตสูง มีโปรตีน แคลเซียม ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม วิตามินบี 1 วิตามินซี และสารอาหารอื่น ๆ เกือบครบทุกชนิดที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย (แม้ว่าจะมีปริมาณไม่สูงมากนัก) เผือกจึงเป็นอาหารที่ให้พลังงานและบำรุงสุขภาพไปพร้อมกัน มีรสหวานจืดอมมันนิดหน่อย ย่อยได้ง่าย เหมาะทั้งเด็ก ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุ (แต่ไม่เหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการลดน้ำหนัก เพราะเผือกมีแคลอรีสูง) แต่ก็ควรรับประทานในปริมาณที่เหมาะสม จึงจะเป็นประโยชน์ต่อร่างกาย ในสมัยก่อนเวลาเดินป่า มักจะขุดหัวเผือก มารับประทานเป็นอาหารเพราะช่วยทำให้อิ่มได้เหมือนกับรับประทานข้าว โดยคุณค่าทางโภชนาการของหัวเผือกเฉพาะส่วนที่กินได้ ต่อ 100 กรัม ทางกรมส่งเสริมการเกษตรได้ระบุไว้ว่า ให้พลังงาน 117 กิโลแคลอรี, คาร์โบไฮเดรต 26.8 กรัม, โปรตีน 2.1 กรัม, ไขมัน 0.1 กรัม, วิตามินบี 1 0.15 มิลลิกรัม, วิตามินบี 2 0.04 มิลลิกรัม, วิตามินบี 3 1 มิลลิกรัม, วิตามินซี 2 มิลลิกรัม, แคลเซียม 84 มิลลิกรัม และฟอสฟอรัส 54 มิลลิกรัม[1]
#ข้อควรระวังในการรับประทานเผือก
หัวและทั้งต้นมีผลึกแคลเซียมออกซาเลต (Calcium oxalate) ซึ่งมีฤทธิ์ทำให้คัน จึงไม่ควรรับประทานแบบดิบ ๆ ต้องนำมาผ่านการต้มหรือหมักก่อนถึงจะรับประทานได้
สำหรับบางรายก็อาจมีอาการแพ้เผือกได้ แม้จะทำให้สุกแล้วก็ตาม โดยอาการที่พบ คือ คันในช่องปาก ทำให้ลิ้นชา เป็นต้น และการรับประทานเผือกในปริมาณมากเกินไปจะทำให้ม้ามทำงานได้อย่างไม่เป็นปกติ
เมนูเผือก
คุณค่าทางโภชนาการของหัวเผือกดิบ ต่อ 100 กรัม
พลังงาน 112 กิโลแคลอรี 7%
คาร์โบไฮเดรต 26.46 กรัม 20%
น้ำตาล 0.40 กรัม
เส้นใยอาหาร 4.1 กรัม 11%
ไขมัน 0.20 กรัม มากกว่า 1%
โปรตีน 1.5 กรัม 3%
น้ำ 70.64 กรัม
วิตามินเอ 76 หน่วยสากล 2.5%
วิตามินบี 1 0.095 มิลลิกรัม 8%
วิตามินบี 2 0.025 มิลลิกรัม 2%
วิตามินบี 3 0.600 มิลลิกรัม 4%
วิตามินบี 5 0.303 มิลลิกรัม 6%
วิตามินบี 6 0.283 มิลลิกรัม 23%
วิตามินบี 9 22 ไมโครกรัม 5.5%
วิตามินซี 4.5 มิลลิกรัม 7%
วิตามินอี 2.38 มิลลิกรัม 20%
วิคามินเค 1.0 ไมโครกรัม 1%
ธาตุแคลเซียม 43 มิลลิกรัม 4%
ธาตุเหล็ก 0.55 มิลลิกรัม 7%
ธาตุแมกนีเซียม 33 มิลลิกรัม 8%
ธาตุแมงกานีส 0.383 มิลลิกรัม 1.5%
ธาตุฟอสฟอรัส 84 มิลลิกรัม
ธาตุโพแทสเซียม 591 มิลลิกรัม 12.5%
ธาตุโซเดียม 11 มิลลิกรัม มากกว่า 1%
ธาตุสังกะสี 0.23 มิลลิกรัม 2%
ธาตุทองแดง 0.172 มิลลิกรัม 19%
ธาตุซีลีเนียม 0.7 ไมโครกรัม 1%
% ร้อยละของปริมาณแนะนำที่ร่างกายต้องการในแต่ละวันสำหรับผู้ใหญ่ (ข้อมูลจาก : USDA Nutrient database)
หัวเผือก
คุณค่าทางโภชนาการของใบเผือกดิบ ต่อ 100 กรัม
พลังงาน 42 กิโลแคลอรี
คาร์โบไฮเดรต 6.7 กรัม
น้ำตาล 3 กรัม
เส้นใยอาหาร 3.7 กรัม
ไขมัน 0.74 กรัม
โปรตีน 5 กรัม
วิตามินเอ 241 ไมโครกรัม 30%
เบตาแคโรทีน 2,895 ไมโครกรัม 27%
ลูทีนและซีแซนทีน 1,932 ไมโครกรัม
วิตามินบี 1 0.209 มิลลิกรัม 18%
วิตามินบี 2 0.456 มิลลิกรัม 38%
วิตามินบี 3 1.513 มิลลิกรัม 10%
วิตามินบี 6 0.146 มิลลิกรัม 11%
วิตามินบี 9 129 ไมโครกรัม 32%
วิตามินซี 52 มิลลิกรัม 63%
วิตามินอี 2.02 มิลลิกรัม 13%
วิคามินเค 108.6 ไมโครกรัม 103%
ธาตุแคลเซียม 107 มิลลิกรัม 11%
ธาตุเหล็ก 2.25 มิลลิกรัม 17%
ธาตุแมกนีเซียม 45 มิลลิกรัม 13%
ธาตุแมงกานีส 0.714 มิลลิกรัม 34%
ธาตุฟอสฟอรัส 60 มิลลิกรัม 9%
ธาตุโพแทสเซียม 648 มิลลิกรัม 14%
ธาตุสังกะสี 0.41 มิลลิกรัม 4%
% ร้อยละของปริมาณแนะนำที่ร่างกายต้องการในแต่ละวันสำหรับผู้ใหญ่ (ข้อมูลจาก : USDA Nutrient database) แก้ไขข้อมูลเมื่อ 31 Jan 22 09:15
คำสำคัญ:
เผือก