ชื่อสินค้า:
สมุนไพรแก่นระกำ ท่อนระกำสด
รหัส:
354921
ราคา:
50.00 บาท
/กิโลกรัม
ติดต่อ:
คุณอังศรา ไพฑูรย์
ที่อยู่ร้าน:
อ.เมืองระยอง จ.ระยอง
ร้านนี้ยังไม่มีการแจ้งเลขทะเบียนพานิชย์
เปิดร้านมาแล้ว 7 ปี 8 เดือน
ไอดีไลน์:
โทรศัพท์:
คำเตือน: โปรดตรวจสอบความน่าเชื่อถือของร้าน เพื่อหลีกเลี่ยงการทุจริต การขอชำระเงินปลายทางเมื่อรับสินค้าถือเป็นอีกหนึ่งวิธีที่ดี
รายละเอียด
กกละ50บาทสนใจโทร0876069955ไอดีไลน์aungsara09จัดส่งทั่วประเทศ #สรรพคุณของระกำ
ระกําช่วยบรรเทาอาการกระหายน้ำ
ช่วยทำให้เจริญอาหาร
ผลระกำใช้รับประทานเป็นยารักษาอาการไอ
ช่วยรักษาอาการไข้สำประชวร (แก่น)
ใช้เป็นยาขับเสมหะ (ผล, แก่น)
ช่วยรักษาเลือด รักษากำเดา (แก่น)
ช่วยในการย่อยอาหาร
#ไข้สำประชวร หมายถึง
คือ ผู้ใดมีอาการเป็นไข้เรื้อรังมาเป็นเวลานานๆ รักษาไม่หาย ทำให้ร่างกายซูบผอมไม่มีแรง เบื่ออาหาร ไข้นี้จะเนื่องมาจากไข้เพื่อเสมหะ โลหิต ดี กำเดาหรือลม เป็นเหตุก็ตาม ให้แพทย์สังเกตดูที่นัยน์ตาของคนไข้จะรู้ได้ว่า คนไข้นั้นเป็นไข้เพื่อ (เพราะ) อะไร ซึ่งมี 5 ประการด้วยกัน คือ
1) ไข้เพื่อ (เพราะ) กำเดา มีอาการปวดหัวตัวร้อน สะท้านร้อนสะท้านหนาว ไม่มีน้ำตา ปากคอแห้งกระหายน้ำนัยน์ตาแดงดังโลหิต
2) ไข้เพื่อ (เพราะ) โลหิต มีอาการปวดหัวตัวร้อน หน้าแดงนัยน์ตาแดง มีน้ำตาคลอ นัยน์ตาแดงดังโลหิต
3) ไข้เพื่อ (เพราะ) เสมหะ มีอาการหนาว แสยงขน ขนลุกทั้งตัว หรือไม่ร้อนมาก นัยน์ตาเหลืองดังขมิ้น
4) ไข้เพื่อ (เพราะ) ดี มีอาการตัวร้อน เพ้อคลั่ง ปวดหัว กระหายน้ำ ขอบนัยน์ตาสีเขียวเป็นแว่น
5) ไข้เพื่อ (เพราะ) ลม มีอาการวิงเวียน หน้ามืด ตัวไม่ร้อน นัยน์ตาขุ่นคล้ำ และมัว อีกพวกหนึ่งนัยน์ตาไม่สู้แดงนัก (แดงเรื่อๆ) ถ้าเป็นกับชาย เกิดจากเส้นอัมพฤกษ์ ถ้าเป็นกับหญิง เกิดจากเส้นปัตคาด
ประโยชน์ของระกำ
ระกำสามารถนำมาปรุงรสเปรี้ยวในอาหารได้ อย่างเช่น ต้มยำ, ต้มส้ม, น้ำพริก, ข้าวยำ เป็นต้น
ใช้รับประทานเป็นผลไม้สดหรือทำเป็นของหวานได้ เช่น ระกำลอยแก้ว น้ำระกำ ระกำแช่อิ่ม เป็นต้น
มีการใช้ผิวของระกำนำมาสกัดเป็นน้ำมันระกำ
ไม้ของต้นระกำเมื่อลิดเอาหนามออกหมดสามารถนำมาใช้กั้นทำเป็นฝาบ้านได้
เมื่อปอกเปลือกของไม้ระกำออก เนื้อไม้ของระกำอ่อนนุ่มมีความหยุ่น สามารถนำมาใช้ทำเป็นจุกขวดน้ำ ทำของเล่นเด็ก เนื่องจากลอยน้ำได้ และใช้เป็นเครื่องประกอบดอกไม้
คุณค่าทางโภชนาการของระกำ ต่อ 100 กรัม
พลังงาน 51 กิโลแคลอรี
ไขมัน 0.1 กรัม
โปรตีน 0.5 กรัม
วิตามินบี 1 0 มิลลิกรัม
วิตามินบี 2 0.2 มิลลิกรัม
วิตามินซี 6 มิลลิกรัม
ธาตุแคลเซียม 8 มิลลิกรัม
ธาตุเหล็ก 0.4 มิลลิกรัม
ธาตุฟอสฟอรัส 18 มิลลิกรัม
ข้อมูลจาก : สถาบันวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง แก้ไขข้อมูลเมื่อ 02 Dec 21 04:42
ระกําช่วยบรรเทาอาการกระหายน้ำ
ช่วยทำให้เจริญอาหาร
ผลระกำใช้รับประทานเป็นยารักษาอาการไอ
ช่วยรักษาอาการไข้สำประชวร (แก่น)
ใช้เป็นยาขับเสมหะ (ผล, แก่น)
ช่วยรักษาเลือด รักษากำเดา (แก่น)
ช่วยในการย่อยอาหาร
#ไข้สำประชวร หมายถึง
คือ ผู้ใดมีอาการเป็นไข้เรื้อรังมาเป็นเวลานานๆ รักษาไม่หาย ทำให้ร่างกายซูบผอมไม่มีแรง เบื่ออาหาร ไข้นี้จะเนื่องมาจากไข้เพื่อเสมหะ โลหิต ดี กำเดาหรือลม เป็นเหตุก็ตาม ให้แพทย์สังเกตดูที่นัยน์ตาของคนไข้จะรู้ได้ว่า คนไข้นั้นเป็นไข้เพื่อ (เพราะ) อะไร ซึ่งมี 5 ประการด้วยกัน คือ
1) ไข้เพื่อ (เพราะ) กำเดา มีอาการปวดหัวตัวร้อน สะท้านร้อนสะท้านหนาว ไม่มีน้ำตา ปากคอแห้งกระหายน้ำนัยน์ตาแดงดังโลหิต
2) ไข้เพื่อ (เพราะ) โลหิต มีอาการปวดหัวตัวร้อน หน้าแดงนัยน์ตาแดง มีน้ำตาคลอ นัยน์ตาแดงดังโลหิต
3) ไข้เพื่อ (เพราะ) เสมหะ มีอาการหนาว แสยงขน ขนลุกทั้งตัว หรือไม่ร้อนมาก นัยน์ตาเหลืองดังขมิ้น
4) ไข้เพื่อ (เพราะ) ดี มีอาการตัวร้อน เพ้อคลั่ง ปวดหัว กระหายน้ำ ขอบนัยน์ตาสีเขียวเป็นแว่น
5) ไข้เพื่อ (เพราะ) ลม มีอาการวิงเวียน หน้ามืด ตัวไม่ร้อน นัยน์ตาขุ่นคล้ำ และมัว อีกพวกหนึ่งนัยน์ตาไม่สู้แดงนัก (แดงเรื่อๆ) ถ้าเป็นกับชาย เกิดจากเส้นอัมพฤกษ์ ถ้าเป็นกับหญิง เกิดจากเส้นปัตคาด
ประโยชน์ของระกำ
ระกำสามารถนำมาปรุงรสเปรี้ยวในอาหารได้ อย่างเช่น ต้มยำ, ต้มส้ม, น้ำพริก, ข้าวยำ เป็นต้น
ใช้รับประทานเป็นผลไม้สดหรือทำเป็นของหวานได้ เช่น ระกำลอยแก้ว น้ำระกำ ระกำแช่อิ่ม เป็นต้น
มีการใช้ผิวของระกำนำมาสกัดเป็นน้ำมันระกำ
ไม้ของต้นระกำเมื่อลิดเอาหนามออกหมดสามารถนำมาใช้กั้นทำเป็นฝาบ้านได้
เมื่อปอกเปลือกของไม้ระกำออก เนื้อไม้ของระกำอ่อนนุ่มมีความหยุ่น สามารถนำมาใช้ทำเป็นจุกขวดน้ำ ทำของเล่นเด็ก เนื่องจากลอยน้ำได้ และใช้เป็นเครื่องประกอบดอกไม้
คุณค่าทางโภชนาการของระกำ ต่อ 100 กรัม
พลังงาน 51 กิโลแคลอรี
ไขมัน 0.1 กรัม
โปรตีน 0.5 กรัม
วิตามินบี 1 0 มิลลิกรัม
วิตามินบี 2 0.2 มิลลิกรัม
วิตามินซี 6 มิลลิกรัม
ธาตุแคลเซียม 8 มิลลิกรัม
ธาตุเหล็ก 0.4 มิลลิกรัม
ธาตุฟอสฟอรัส 18 มิลลิกรัม
ข้อมูลจาก : สถาบันวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง แก้ไขข้อมูลเมื่อ 02 Dec 21 04:42
คำสำคัญ:
ระกำ