ค้นหาสินค้า

ขายไม้ไผ่

ร้าน AsiaBAM-BOO
ชื่อสินค้า:

ขายไม้ไผ่

รหัส:
351687
ราคา:
35.00 บาท /ลำ
ติดต่อ:
คุณเฮียดื้อ ขายไม้ไผ่
ที่อยู่ร้าน:
อ.เมืองอุตรดิตถ์ จ.อุตรดิตถ์
ร้านนี้ยังไม่มีการแจ้งเลขทะเบียนพานิชย์ เปิดร้านมาแล้ว 3 ปี 7 เดือน
เบอร์โทรไลน์:
โทรศัพท์:
ปุ่มติดต่อ:
โทรศัพท์
คำเตือน: โปรดตรวจสอบความน่าเชื่อถือของร้าน เพื่อหลีกเลี่ยงการทุจริต การขอชำระเงินปลายทางเมื่อรับสินค้าถือเป็นอีกหนึ่งวิธีที่ดี
ภาพทั้งหมดของสินค้านี้
รายละเอียด
ขายไม้ไผ่
www.AsiaBam-Boo.com
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1.5-2.0 นิ้ว =45-55 บาท/ลำ
____________
AsiaBam-Boo.com(asia.thailand) | Tel.- 0817429045 ,055479924| ไม้ไผ่อัดนำยากันมอด จำหน่ายไม้ไผ่รวกอัดน้ำยากันมอด ระบบสูญญากาศ มาตรฐานส่งออก.
| AsiaBAM-BOO.com
ผลิตไม้ไผ่กันมอด ระบบถังอัดแรงดัน สำหรับลูกค้าที่ต้องการไม้ไผ่คุณภาพสูง มาตรฐานส่งออก
https://www.asiabam-boo.com/
Phone : 0817429045 , 055479924
Line iD : 0817429045 https://lin.ee/2oab3wb
E mail : [email protected]
website : www.asiabam-boo.com/
____________
คำค้น
เราขอแนะนำไม้ไผ่ที่ดีที่สุดคัดขนาดสวยงาม
ร้านขายไม้ไผ่
ร้านไม้ไผ่นั่งร้าน
ร้านขายไม้ไผ่ลำปาง ปราจีนบุรี
ราคาไม้ไผ่นั่งร้าน
ไม้ไผ่รวกราคา
ร้านขายไม้ไผ่
ปลูกไม้ไผ่ขายต้นปลูกไม้ไผ่ซาง
ร้านขายไม้ไผ่รวก
ร้านขายไม้ไผ่รวกสมุทรปราการ
ราคาไม้ไผ่นั่งร้าน
เช็คราคาไม้ไผ่
ร้านขายไม้ไผ่นนบุรี
ขายไม้ไผ่รวกเลี้ยงหอยแมลงภู่
ร้านขายไม้ตากยาง
ไม้ไผ่ตากยาง
ขายส่งไม้ป้องกันตลิ่ง
ไม้ไผ่ชลอคลื่น
ไม้ไผ่ป้องกันชายฝั่งสมุทรสาครชุมพรนครศรีธรรมราช
ไม้ตกแต่งไม้สวยงานไม้จัดงานไม้ตกแต่งโรงแรมชุบน้ำยา
คุณอาจสนใจ
บ้านไม้ไผ่ศาลาไม้ไผ่กระท่อมไม้ไผ่
ฝ้าเพดานไม้ไผ่เทียนไม้ไผ่ยันหลังต้นไม้
ไม้ไผ่ลิงส้มไม้ลิงส้มไม้ลิงกลัย
เฟอร์นิเจอร์ไม้หลังคาไผ่ไผ่เลี้ยงไผ่ยืดไผ่รวกไม้ไผ่ไผ่
ราคาไม้ไผ่รวก
ร้านขายไม้ไผ่สมุทรปราการ
ราคาไม้ไผ่นั่งร้าน
ราคาไม้ไผ่ลํา
ราคาไม้ไผ่สานสำเร็จฝาบ้าน
ราคาไม้ไผ่ตง
ร้านขายไม้ไผ่นนทบุรี
ขายไม้ไผ่ราคา
แหล่งขายไม้ไผ่ราคาถูก
ไม้รวกมัดละ
ราคาขายไม้ไผ่รวก
ขายไม้รวกกาญจนบุรี
ต้องการขายไม้ไผ่รวก
ไม้ไผ่คาซีกราคา
ไม้ไผ่มัดละ
ราคาไม้ไผ่ตง
ขายไม้ตากยางดิบ
ไผ่เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวอยู่ในวงศ์ Gramineae เช่นเดียวกับหญ้าแต่เป็นพืชตระกูลหญ้าที่สูงที่สุดในโลก เป็นไม้พุ่มหลายชนิดและหลายสกุลใน วงศ์หญ้า Poaceae (เดิมคือ Gramineae) วงศ์ย่อย Bambusoideae เป็นไม้ไม่ผลัดใบใน ขึ้นเป็นกอ ลำต้นเป็นปล้องๆ และเป็นพืชเมืองร้อน ไม้ไผ่ใช้ประโยชน์ได้อย่างกว้างขวาง เช่น ใช้ในการก่อสร้างไม้นั่งร้านทาสีฉาบปูน ใช้จักสานภาชนะต่าง ๆ ใช้ทำเครื่องดนตรี ใช้เป็นเยื่อกระดาษในอุตสาหกรรมทำกระดาษ ทำเครื่องกีฬา ใช้เป็นอาวุธ เช่น คันธนู หอก หลาว ใช้เป็นเครื่องอุปกรณ์การประมง เช่น ทำเสาโป๊ะ ทำเครื่องมือในการเกษตร นอกจากนั้นใบยังใช้ห่อขนม หน่อไผ่ใช้เป็นอาหารอย่างวิเศษ และกอไผ่ยังใช้ประดับสวนได้งดงาม
ผลผลิตจากไผ่ที่สำคัญคือ หน่อไม้ ซึ่งเป็นอาหารสำคัญของคนไทย นิยมทานกันมากในเกือบทุกภาคของประเทศไทย โดยเฉพาะภาคเหนือและอีสาน นอกจากนี้ไม้ไผ่ยังมีคุณสมบัติพิเศษทั้งด้านความแข็งแรงและยืดหยุ่นที่เหนือกว่าวัสดุสังเคราะห์หลายชนิด ดังนั้นจึงยังได้รับความนิยมในการทำเครื่องมือเครื่องใช้หลายประเภท ใช้ชะลอน้ำที่เข้าป่าชายเลน นั่งร้านก่อสร้างและบันได เป็นต้น
paisuan
ไม้ไผ่ เป็นวัสดุที่เก่าแก่ที่สุดที่มนุษย์รู้จักนำมาใช้เพื่อความสะดวกสบายในชีวิตประจำวัน ในขณะที่โลกปัจจุบันเป็นเรื่องของพลาสติกและเหล็ก แต่ก็ยังมีโครงการร่วมมือค้นคว้า เรื่องไม้ไผ่ระหว่างชาติต่าง ๆ เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลทางวิชาการในการใช้ไม้ไผ่ซึ่งกันและกันในประเทศลาตินอเมริกัน 6 ประเทศ ในขณะนี้ได้มีโครงการวิจัยร่วมกันเพื่อจะหาชนิดของไม้ไผ่ที่ดีที่สุดจากภาคต่าง ๆ ทั่วโลก
ไม้ไผ่ทั่วโลกที่รู้จักกันมีประมาณ 75 สกุล ที่ได้สำรวจพบในเมืองไทยมีประมาณ 12 สกุล แยกเป็นชนิดประมาณ 44 ชนิด
ไม้ไผ่ที่ปลูกกันมากในประเทศไทยและนำมาใช้ประโยชน์มีอยู่ประมาณ 32 ชนิด ในประเทศไทยนั้น พบไผ่อยู่ 30 ชนิด ดังนี้
ไผ่ข้าวหลาม (ชื่อวิทยาศาสตร์: Cephalostachyum pergracile )
ไผ่คายดำ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Gigantochloa compressa)
ไผ่โจด (ชื่อวิทยาศาสตร์: Arundinaria cililta)
ไผ่ซาง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Dendrocalamus strictus)
ไผ่ซางคำ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Dendrocalamus latiflorus)
ไผ่ซางนวล (ชื่อวิทยาศาสตร์: Dendrocalamus membranaceus)
ไผ่ซางหม่น (ชื่อวิทยาศาสตร์: Dendrocalamus sericeus )
ไผ่ตง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Dendrocalamus aspe)
ไผ่ตากวาง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Gigantochloa kurzii)
ไผ่บง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Bambusa nutans)
ไผ่บงคาย (ชื่อวิทยาศาสตร์: Gigantochloa hosseusii)
ไผ่บงดำ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Bambusa tulda)
ไผ่บงป่า (ชื่อวิทยาศาสตร์: Bambusa longispatha)
ไผ่บงหนาม (ชื่อวิทยาศาสตร์: Bambusa burmanica)
ไผ่ป่า (ชื่อวิทยาศาสตร์: Bambusa bambos)
ไผ่เป๊าะ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Dendrocalamus giganteus)
ไผ่ผาก (ชื่อวิทยาศาสตร์: Gigantochloa densa)
ไผ่เพ็ก (ชื่อวิทยาศาสตร์: Vietnamosasa pusilla)
ไผ่รวก (ชื่อวิทยาศาสตร์: Thyrsostachys siamensis)
ไผ่รวกดำ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Thyrsostachys oliveri)
ไผ่ไร่ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Gigantochloa albociliata)
ไผ่ลำมะลอก (ชื่อวิทยาศาสตร์: Bambusa longispiculatar)
ไผ่เลี้ยง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Bambusa mulfiplex)
ไผ่หวาน (ชื่อวิทยาศาสตร์: Bambusa sp.)
ไผ่สีสุก (ชื่อวิทยาศาสตร์: Bambusa blumeana)
ไผ่หก (ชื่อวิทยาศาสตร์: Dendrocalamus hamiltonii)
ไผ่หลอด (ชื่อวิทยาศาสตร์: Neohouzeaua mekongensis)
ไผ่หอม (ชื่อวิทยาศาสตร์: Bambusa polymorpha)
ไผ่เหลือง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Bambusa vulgaris)
ไผ่เฮียะ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Cephalostachyum virgatum)
จากการรายงานของ Food Standards Australia New Zealand (FSANZ) ปี 2004 พบว่า หน่อไม้มีประมาณ 1200 พันธุ์ แต่ที่ใช้บริโภคเป็นอาหาร มีไม่กี่พันธุ์หน่อไม้ แต่ละพันธุ์มีระดับไซยาไนด์ตามธรรมชาติแตกต่างกัน บางพันธุ์พบว่ามีปริมาณไซยาไนด์สูงถึง 8000 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม พันธุ์ที่ใช้บริโภคได้มีรายงานว่าพบไซยาไนด์โดยเฉลี่ยถึง 1000 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม
ปริมาณไซยาไนด์ที่มีอยู่ในธรรมชาติภายหลังการเก็บเกี่ยวจะลดลง ขบวนการหมัก การทำหน่อไม้กระป๋องหรือขั้นตอนในการเตรียมหรือปรุงอาหาร สามารถลดปริมาณไซยาไนด์ลงได้ สำหรับประเทศไทยหน่อไม้ที่บริโภคมีอยู่หลายชนิด ได้แก่ หน่อไม้ซาง หน่อไม้บ่ง, หน่อไม้ไร่, หน่อไม้รวก, หน่อไม้ตง, หน่อไม้ไผ่ แต่ยังไม่มีหน่วยงานใดศึกษาไซยาไนด์ที่อยู่ในหน่อไม้ไทยแต่ละพันธุ์ ไซยาไนด์เมื่อเข้าสู่ร่างกายปริมาณน้อยจะถูก detoxify โดย enzyme rhodanese เปลี่ยนให้อยู่ในรูปของ thiocyanate ซึ่งมีพิษน้อยกว่าไฮโดรเจนไซยาไนด์และจะถูกขับออกทางปัสสาวะ แต่ถ้าได้รับปริมาณมากจะไปเกาะกับ hemoglobin ซึ่งเป็นสารตัวที่ร่างกายใช้ขนส่งออกซิเจนไปตามร่างกายจะทำให้เกิดอาการขาดออกซิเจน ทุรนทุราย หมดสติ ถ้าช่วยเหลือไม่ทันอาจทำให้เสียชีวิตได้เนื่องจากขาดออกซิเจน
ไซยาไนด์สามารถเข้าสู่ร่างกายได้หลายทาง ทางปาก ผิวหนังและทางการหายใจ ในขั้นตอนการหมักหน่อไม้ ในสภาพที่เป็นกรดสามารถทำให้ เกิดแกสไฮโดรเจนไซยาไนด์ ทำให้ปริมาณที่พบในส่วนเนื้อหน่อไม้ลดลง การผลิตหน่อไม้ปี๊บซึ่งจะต้องมีขั้นตอนการต้ม การปรับกรดก็สามารถลดไซยาไนด์ที่มีอยู่ในธรรมชาติได้ การให้ความร้อน เช่น การเผา การต้ม การนำหน่อไม้ไปปรุงอาหารซึ่งต้องผ่านขั้นตอน
การให้ความร้อน ก็จะทำให้ปริมาณไซยาไนต์ในหน่อไม้ลดลงได้ เช่นกัน
ดังนั้นจึงไม่ควรบริโภคหน่อไม้ดิบเพราะอาจทำให้เกิดอันตรายได้เช่นเดียวกับการบริโภคมันสำปะหลังดิบและไม่ควรตกใจและเลิก
painor
รับประทานหน่อไม้เพราะสารพิษในหน่อไม้ไม่เสถียรและจะลดลงได้เมื่อผ่านขั้นตอนการปรุงอาหาร หน่อไม้ทุกชนิดไม่ว่าจะเป็นหน่อไม้ดอง หรือหน่อไม้ปี๊บ โดยเฉพาะหน่อไม้สดซึ่งมีไซยาไนด์มากกว่าหน่อไม้ชนิดอื่น เพื่อความปลอดภัยก่อนบริโภคควรนำมาต้มน้ำทิ้งเพื่อลดปริมาณ ไซยาไนด์ซึ่งอาจยังหลงเหลืออยู่ แล้วจึงนำมาปรุงอาหาร
สรรพคุณของหน่อไม้
ลดการเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่ ป้องกันอาการท้องผูก ช่วยย่อยอาหาร เป็นสรรพคุณที่เห็นผลมาก เพราะหน่อไม้เป็นอาหารที่ให้เส้นใยสูงจึงช่วยกระตุ้นการบีบตัวของลำไส้ เมื่อหน่อไม้ผ่านการย่อยร่างกายจะดูดซึมสารอหารเข้าสู่กระแสเลือด ส่วนกากอาหารที่เหลือหรือสารพิษต่างๆ เช่น ยาฆ่าแมลงหรือโลหะหนักจะไปรวมกันที่ลำไส้ใหญ่ แต่ถ้ามีกากใยอาหารมากๆ กากใยอาหารเหล่านี้จะช่วยดูดน้ำและเพิ่มปริมาณ ทำให้กากอาหารมีน้ำหนักมากจะเคลื่อนออกสู่โลกภายนอกได้เร็ว กากใยอาหารจึงช่วยลดการเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่
แก้กระหาย ขับปัสสาวะ ละลายเสมหะ แก้ไอ บำรุงกำลังแก้อาการร้อนต่างๆ ได้ดี เพราะมีฤทธิ์เย็นเช่นเดียวกับเห็ด
ขับพิษใต้ผิวหนัง ขับผื่นหัดรวมถึงผื่นชนิดอื่นๆ เพียงดื่มน้ำแกงที่ได้จากการต้มหน่อไม้ร่วมกับปลาตะเพียน
แก้โรคบิดเรื้อรังได้
นอกจากหน่อไม้สดจะมีคุณค่าทางอาหารสูงแล้ว ตัวหน่อไม้ดองเองแม้จะไม่มีคุณค่าทางอาหาร แต่ยังมีคุณค่าแฝงอยู่อีกคือ จะมีแบคทีเรียในหน่อไม้ดองที่ชื่อ คลอสทริเดีย เป็นแบคทีเรียที่ปนอยู่ในดิน เจริญเติบโตได้ดีในสภาวะไร้ออกซิเจน เช่น ในอาหารจำพวกของหมักดองทั้งหลายและรวมทั้งอาหารกระป๋องที่ไม่ได้ผ่านกระบวนการทำลายแบคทีเรียอย่างถูกวิธี แบคทีเรียชนิดนี้มีพิษแต่มันก็มีประโยชน์ ซึ่งสำนักงานอาหารและยา หรือ FDA ของสหรัฐอเมริกาอนุญาตให้นำแบคทีเรียนี้ไปผ่านกระบวนการแยกเอาสารพิษออกแล้วทำให้เจือจาง เพื่อนำไปใช้ในการบำบัดรักษาโรคที่เกี่ยวกับกล้ามเนื้อ โดยตั้งชื่อใหม่ว่า โบท็อก (Botox) (ซึ่งโบท็อกก็คือสารหน้าเด้งที่พวกดาราทั้งหลายไปฉีดเพื่อลดรอยเหี่ยวและย่นนั้นล่ะค่า)
ข้อควรระวังในการรับประทานหน่อไม้
หน่อไม้มีคุณค่าทางอาหารสูงในตัวของมันเอง ส่วนหน่อไม้ดองก็มีคุณค่าแฝง แต่สำหรับผู้ป่วยเป็นโรคบางชนิดแล้ว แพทย์เองก็ไม่แนะนำให้ทานเหมือนกัน
ผู้ป่วยเป็นโรคเกาต์
แก้ไขข้อมูลเมื่อ 07 Aug 23 03:24
คำสำคัญ: รั้วไม้ ไม้ไผ่