ชื่อสินค้า:
อ้อยดำยา
รหัส:
345657
ประเภท:
ราคา:
50.00 บาท
/กิโลกรัม
ติดต่อ:
คุณอังศรา ไพฑูรย์
ที่อยู่ร้าน:
อ.เมืองระยอง จ.ระยอง
ร้านนี้ยังไม่มีการแจ้งเลขทะเบียนพานิชย์
เปิดร้านมาแล้ว 7 ปี 9 เดือน
ไอดีไลน์:
โทรศัพท์:
คำเตือน: โปรดตรวจสอบความน่าเชื่อถือของร้าน เพื่อหลีกเลี่ยงการทุจริต การขอชำระเงินปลายทางเมื่อรับสินค้าถือเป็นอีกหนึ่งวิธีที่ดี
รายละเอียด
สรรพคุณของอ้อยดำ
ทั้งต้นใช้ร่วมกับสมุนไพรชนิดอื่น ๆ ใช้รักษาโรคได้สารพัด (ทั้งต้น)
ใช้เป็นยาอายุวัฒนะ ด้วยการใช้แก่นอ้อยดําผสมกับแก่นปีบและหัวยาข้าวเย็น นำมาต้มดื่ม (แก่น)
ช่วยบำรุงร่างกาย รักษาอาการอ่อนเพลีย รักษาอาการผอมแห้ง หิวและหอบ ไม่มีเรี่ยวแรง (ราก, ทั้งต้น)
ใช้เป็นยาบำรุงกำลัง ทำให้เกิดกำลัง (ราก, ต้น, น้ําอ้อย, ตาอ้อย, ทั้งต้น)
ช่วยบำรุงธาตุ เจริญธาตุ ผายธาตุในร่างกาย (ต้น, ตาอ้อย, น้ำอ้อย)
ช่วยบำรุงธาตุน้ำ (ต้น, ตาอ้อย, น้ำอ้อย)
ช่วยบำรุงธาตุทั้งสี่ บำรุงอาโปธาตุ (ไม่ระบุส่วนที่ใช้)
ช่วยบำรุงโลหิต (ราก)
ช่วยดับพิษโลหิตแดงอักเสบ (ไม่ระบุส่วนที่ใช้)
ช่วยรักษาเลือดลม (ราก, ทั้งต้น)
ช่วยบำรุงหัวใจ (ต้น, น้ำอ้อย)
ช่วยรักษาอาการอ่อนเพลีย (ราก, ต้น, น้ําอ้อย)
ช่วยทำให้เจริญอาหาร (ต้น, น้ำอ้อย, ทั้งต้น)
เปลือกต้นมีรสหวานขม ช่วยแก้ตานขโมย (เปลือกต้น)
ช่วยแก้พิษตานซาง (ต้น, ตาอ้อย, เปลือกต้น)
ต้นใช้ร่วมกับสมุนไพรอื่น ช่วยรักษาอาการคลั่งเพ้อ (ต้น)
ช่วยแก้ไข้ แก้ไข้ตัวร้อน ด้วยการใช้ปล้องที่ลำต้นนำมาผ่าแล้วเอาเกลือทา นำไปเผาไฟแล้วเคี้ยวกินเป็นยาแก้ไข้ (ต้น ราก)
ช่วยแก้ไข้สัมประชวร (ต้นน้ำอ้อย ราก)
ช่วยรักษาไข้จับใน (ต้น)
ต้นใช้ร่วมกับสมุนไพรอื่นช่วยรักษาไข้ผ่าระดูและไข้ตัวร้อน (ต้น)
ตามีรสหวานขม ช่วยแก้ตัวร้อน (ตาอ้อย เปลือกต้น
ช่วยแก้หืด ไอ (ต้น, น้ําอ้อย, ทั้งต้น, ราก)
สรรพคุณอ้อยดำ ช่วยแก้ไอ แก้หวัด ด้วยการใช้อ้อยดำที่ยังไม่ปอกเปลือกขนาด 3 ข้อ นำมาเผาไฟจนร้อน (สังเกตจากการเกิดฟองที่ปุดออกทางปลายทั้งสองข้าง) แล้วปอกเปลือกออก ใช้เคี้ยวกินในขณะร้อน หรือจะจิ้มกับเกลือกินไปก็จะยิ่งดีมาก เพราะจะช่วยแก้อาการไอ ขับเสมหะ แก้เสียงแหบแห้งได้ด้วย (ต้น, ทั้งต้น)
ช่วยรักษาโรคไซนัส (ต้น)
ช่วยแก้อาการไอเรื้อรัง หอบ มีเสมหะในผู้ป่วยหลอดลมอักเสบ ด้วยการใช้รากอ้อยประมาณ 10 กรัม นำมาต้มกับเหล้า ใช้กินครั้งเดียวหมดวันละ 2 ครั้ง เช้าและเย็น (ราก)
ช่วยแก้อาการร้อนใน (ต้น, น้ำอ้อย)
ช่วยขับเสมหะ แก้เสมหะในคอ (ต้น, น้ำอ้อย, ราก)
ช่วยแก้เสมหะเหนียว (ต้น)
ช่วยทำให้ชุ่มชื่นในลำคอและในอก(ต้น, น้ำอ้อย)
การดื่มน้ำอ้อยจะช่วยแก้อาการคอแห้งและอาการกระหายน้ำได้ (ต้น, น้ำอ้อย)
ช่วยแก้อาการเจ็บคอ ด้วยการใช้ปล้องที่ลำต้นนำมาผ่าแล้วเอาเกลือทา นำไปเผาไฟแล้วเคี้ยวกิน (ต้น)
ช่วยแก้อาการสะอึก (ต้น, น้ําอ้อย)
ช่วยแก้กำเดาและลม (ต้น, น้ำอ้อย)
ช่วยแก้อาการคลื่นไส้อาเจียน (ต้น, น้ำอ้อย) แก้อาเจียน (เนื่องจากมีโรคอยู่ในกระเพาะ) ด้วยการใช้น้ำอ้อยสดครึ่งแก้ว ผสมกับน้ำคั้นจากขิงสด 1 ช้อนชา คนให้เข้ากัน แล้วตั้งบนไฟพออุ่น ใช้ดื่มครั้งเดียวให้หมดวันละ 2 ครั้ง เช้าและเย็น (น้ำอ้อย)
ช่วยรักษาอาการตามืดฟาง โดยใช้ผสมกับสมุนไพรอื่น ๆ (ต้น, น้ำอ้อย)
เปลือกนำมาเผาเป็นเถ้าแล้วบดให้ละเอียด ใช้โรยหรือผสมทารักษาโรคปากเป็นแผลอันเนื่องมาจากขาดธาตุอาหาร (เปลือกต้น)
สรรพคุณของอ้อยดำ สำหรับผู้ที่มีอาการร้อนในและปากเปื่อย ให้ตัดอ้อยดำยาวเท่านิ้วชี้จำนวน 3 ท่อน นำแต่ละท่อนมาผ่า 4 ส่วน เอา 3 ส่วน แล้วนำไปแช่น้ำประมาณ 3 แก้ว หลังจากนั้นเติมข้าวสารเจ้าลงไปหยิบมือหนึ่ง แช่ทิ้งไว้ประมาณ 30 นาที แล้วนำมาดื่มครั้งละ 1 แก้ว วันละ 3 ครั้ง ติดต่อกันประมาณ 3-4 วัน (ต้น)
ช่วยแก้อาการเมาค้าง มึนงง อ่อนเพลีย รวมถึงมีอาการวิงเวียนศีรษะเพราะนอนน้อย อยากจะอาเจียน ก็ให้ดื่มน้ำอ้อยคั้นสด 1 แก้ว (ห้ามใส่น้ำแข็ง) แล้วอีกครึ่งชั่วโมงก็ให้ดื่มต่อ 1 แก้ว จะช่วยทำให้รู้สึกสดชื่นขึ้น (ต้น, น้ำอ้อย)
รากใช้รักษาไส้ใหญ่แตกพิการ ทำให้วิงเวียนหน้ามืดตาลาย ทำให้หาวเรอ เสลดขึ้นคอ เจ็บหลังเจ็บเอว ทำให้ขัดอกเสียดสีข้าง ท้องขึ้น ท้องอืด ร้อนท้อง และทำให้ตกเลือดตกหนอง (ราก)
ช่วยบำรุงกระเพาะอาหาร (ต้น, น้ําอ้อย)
ช่วยแก้อาการท้องผูก ด้วยการกินน้ำอ้อยสด 1 แก้ว (สำหรับผู้ใหญ่) ก่อนรับประทานอาหารเช้าประมาณ 1 ชั่วโมง จะช่วยเป็นยาระบายได้เป็นอย่างดี แต่ถ้าเป็นเด็กทารกก็ให้ผสมน้ำตาลทรายแดงลงในนมผงที่ชงให้เด็กกินพอหวาน เนื่องจากน้ำตาลทรายแดงมีฤทธิ์เป็นยาระบายอ่อน ๆ (ต้น, น้ำอ้อย)
ต้นใช้ร่วมกับสมุนไพรอื่น ช่วยรักษาอาการท้องเดิน ถ่ายท้อง ท้องขึ้น (ต้น)
น้ำเหลืองน้ำตาล (ส่วนน้ำที่เหลือจากการตกผลึกเอาน้ำตาลทรายไปแล้ว) ใช้เป็นยาระบาย หากผสมเป็นอาหารสัตว์ในปริมาณมากเกินไป อาจทำให้สัตว์เป็นอันตรายจนอาจถึงตายได้ โดยเฉพาะม้าจะเกิดอาการเป็นพิษได้ง่ายกว่าสัตว์ชนิดอื่น
ต้นใช้ร่วมกับสมุนไพรอื่น ช่วยรักษาอุจจาระเป็นเสมหะโลหิต (ต้น)
ใช้เป็นยาขับปัสสาวะ ด้วยการใช้ลำต้นทั้งสดหรือแห้งวันละ 1 กำ ถ้าเป็นต้นสดให้ใช้ประมาณ 70-90 กรัม แต่ถ้าเป็นแห้งให้ใช้ประมาณ 30-40 กรัม นำมาหั่นเป็นชิ้น ๆ ต้มกับน้ำรับประทานก่อนอาหารครั้งละ 1 ถ้วยชา (ประมาณ 75 มิลลิเมตร) วันละ 3 ครั้ง บ้างก็ระบุว่าให้ดื่มวันละ 2 ครั้ง เช้าและเย็น (ต้น, น้ําอ้อย, ตาอ้อย, ราก)
ช่วยแก้ปัสสาวะพิการ (ต้น, น้ำอ้อย, ทั้งต้น)
ต้นใช้ร่วมกับสมุนไพรอื่น ช่วยรักษาปัสสาวะวิปลาสเป็นสีเหลือง สีแดง (ต้น)
ช่วยล้างทางเดินปัสสาวะ (น้ำอ้อย)
ช่วยขับนิ่ว รักษาโรคนิ่ว แก้โรคช้ำรั่ว แก้อาการขัดเบา ปัสสาวะขัด (ต้น, น้ำอ้อย, ทั้งต้น, ราก)
ช่วยแก้หนองใน (ต้น, น้ำอ้อย)
ช่วยแก้อาการปวดประจำเดือนของสตรี ด้วยการใช้น้ำตาลทรายแดงประมาณ 1 ช้อนโต๊ะพูน ๆ ผสมกับเหล้าขาว 1-3 ช้อนแกง แล้วใช้ดื่ม อาการปวดจะดีขึ้น (น้ําอ้อย)
ช่วยบำรุงโลหิตระดูของสตรีให้งาม (ราก, ทั้งต้น)
ต้นใช้ร่วมกับสมุนไพรอื่น ช่วยรักษาระดูแห้งของสตรี (ต้น)
ช่วยแก้ไตพิการ ด้วยการใช้ต้นสดวันละ 1 กำมือ (ประมาณ 70-90 กรัม) นำมาสับเป็นชิ้นเล็ก ๆ แล้วต้มกับน้ำจะได้ยารสขมหวาน นำมาแบ่งดื่มครั้งละ 1 ถ้วยชา วันละ 2 ครั้ง (ต้น, น้ำอ้อย)
ช่วยขับน้ำเหลือง (ต้น, น้ําอ้อย)
ช่วยรักษาโรคงูสวัด (ต้น)
ช่วยแก้พิษยางน่อง (น้ำอ้อย)
เปลือกต้นมีรสฝาดหวานละเอียด ช่วยแก้แผลเน่าเปื่อย แผลบวมเป็นตุ่ม แผลกดทับ ด้วยการใช้เปลือกต้นนำมาเผาเป็นเถ้าบดให้เป็นผง แล้วนำมาใช้โรยหรือผสมทาที่แผล หรือจะใช้เถ้าที่ได้ผสมกับน้ำมันหอมทาบริเวณที่เป็นแผลก็ได้ (เปลือกต้น)
ช่วยรักษาแผลพุพอง (ต้น)
ชานอ้อยมีรสจืดหวาน ช่วยรักษาแผลเรื้อรัง แผลใต้ผิวหนังเรื้อรัง ด้วยการนำชานอ้อยมาเผาให้เป็นเถ้าหรือบดเป็นผง นำมาใช้โรยหรือผสมทาที่แผลแล้วเอาครีมทาปิดแผลไว้ (ชานอ้อย)
ช่วยแก้ฝีอักเสบบวม ด้วยการนำชานอ้อยมาเผาให้เป็นเถ้าหรือบดให้เป็นผง แล้วนำมาใช้โรยหรือผสมทา หรือใช้ผงเถ้าผสมกับน้ำหอมทาเล็กน้อย และใช้เข็มฆ่าเชื้อเจาะหนองออก แล้วเอาเถ้ามาโรยแผล และใช้เถ้าชานอ้อยผสมกับน้ำมันพืชหรือไขมันทาอีกครั้งจะได้ผลดีขึ้น (ชานอ้อย)
ช่วยรักษาฝีดูดหนอง เข้าใจว่าใช้น้ำอ้อยผสมกับสมุนไพรชนิดอื่น ๆ (น้ำอ้อย)
ช่วยแก้อาการช้ำใน (ต้น, น้ําอ้อย)
ช่วยให้มีบุตร (ราก, ทั้งต้น) แก้ไขข้อมูลเมื่อ 04 Apr 21 08:40
ทั้งต้นใช้ร่วมกับสมุนไพรชนิดอื่น ๆ ใช้รักษาโรคได้สารพัด (ทั้งต้น)
ใช้เป็นยาอายุวัฒนะ ด้วยการใช้แก่นอ้อยดําผสมกับแก่นปีบและหัวยาข้าวเย็น นำมาต้มดื่ม (แก่น)
ช่วยบำรุงร่างกาย รักษาอาการอ่อนเพลีย รักษาอาการผอมแห้ง หิวและหอบ ไม่มีเรี่ยวแรง (ราก, ทั้งต้น)
ใช้เป็นยาบำรุงกำลัง ทำให้เกิดกำลัง (ราก, ต้น, น้ําอ้อย, ตาอ้อย, ทั้งต้น)
ช่วยบำรุงธาตุ เจริญธาตุ ผายธาตุในร่างกาย (ต้น, ตาอ้อย, น้ำอ้อย)
ช่วยบำรุงธาตุน้ำ (ต้น, ตาอ้อย, น้ำอ้อย)
ช่วยบำรุงธาตุทั้งสี่ บำรุงอาโปธาตุ (ไม่ระบุส่วนที่ใช้)
ช่วยบำรุงโลหิต (ราก)
ช่วยดับพิษโลหิตแดงอักเสบ (ไม่ระบุส่วนที่ใช้)
ช่วยรักษาเลือดลม (ราก, ทั้งต้น)
ช่วยบำรุงหัวใจ (ต้น, น้ำอ้อย)
ช่วยรักษาอาการอ่อนเพลีย (ราก, ต้น, น้ําอ้อย)
ช่วยทำให้เจริญอาหาร (ต้น, น้ำอ้อย, ทั้งต้น)
เปลือกต้นมีรสหวานขม ช่วยแก้ตานขโมย (เปลือกต้น)
ช่วยแก้พิษตานซาง (ต้น, ตาอ้อย, เปลือกต้น)
ต้นใช้ร่วมกับสมุนไพรอื่น ช่วยรักษาอาการคลั่งเพ้อ (ต้น)
ช่วยแก้ไข้ แก้ไข้ตัวร้อน ด้วยการใช้ปล้องที่ลำต้นนำมาผ่าแล้วเอาเกลือทา นำไปเผาไฟแล้วเคี้ยวกินเป็นยาแก้ไข้ (ต้น ราก)
ช่วยแก้ไข้สัมประชวร (ต้นน้ำอ้อย ราก)
ช่วยรักษาไข้จับใน (ต้น)
ต้นใช้ร่วมกับสมุนไพรอื่นช่วยรักษาไข้ผ่าระดูและไข้ตัวร้อน (ต้น)
ตามีรสหวานขม ช่วยแก้ตัวร้อน (ตาอ้อย เปลือกต้น
ช่วยแก้หืด ไอ (ต้น, น้ําอ้อย, ทั้งต้น, ราก)
สรรพคุณอ้อยดำ ช่วยแก้ไอ แก้หวัด ด้วยการใช้อ้อยดำที่ยังไม่ปอกเปลือกขนาด 3 ข้อ นำมาเผาไฟจนร้อน (สังเกตจากการเกิดฟองที่ปุดออกทางปลายทั้งสองข้าง) แล้วปอกเปลือกออก ใช้เคี้ยวกินในขณะร้อน หรือจะจิ้มกับเกลือกินไปก็จะยิ่งดีมาก เพราะจะช่วยแก้อาการไอ ขับเสมหะ แก้เสียงแหบแห้งได้ด้วย (ต้น, ทั้งต้น)
ช่วยรักษาโรคไซนัส (ต้น)
ช่วยแก้อาการไอเรื้อรัง หอบ มีเสมหะในผู้ป่วยหลอดลมอักเสบ ด้วยการใช้รากอ้อยประมาณ 10 กรัม นำมาต้มกับเหล้า ใช้กินครั้งเดียวหมดวันละ 2 ครั้ง เช้าและเย็น (ราก)
ช่วยแก้อาการร้อนใน (ต้น, น้ำอ้อย)
ช่วยขับเสมหะ แก้เสมหะในคอ (ต้น, น้ำอ้อย, ราก)
ช่วยแก้เสมหะเหนียว (ต้น)
ช่วยทำให้ชุ่มชื่นในลำคอและในอก(ต้น, น้ำอ้อย)
การดื่มน้ำอ้อยจะช่วยแก้อาการคอแห้งและอาการกระหายน้ำได้ (ต้น, น้ำอ้อย)
ช่วยแก้อาการเจ็บคอ ด้วยการใช้ปล้องที่ลำต้นนำมาผ่าแล้วเอาเกลือทา นำไปเผาไฟแล้วเคี้ยวกิน (ต้น)
ช่วยแก้อาการสะอึก (ต้น, น้ําอ้อย)
ช่วยแก้กำเดาและลม (ต้น, น้ำอ้อย)
ช่วยแก้อาการคลื่นไส้อาเจียน (ต้น, น้ำอ้อย) แก้อาเจียน (เนื่องจากมีโรคอยู่ในกระเพาะ) ด้วยการใช้น้ำอ้อยสดครึ่งแก้ว ผสมกับน้ำคั้นจากขิงสด 1 ช้อนชา คนให้เข้ากัน แล้วตั้งบนไฟพออุ่น ใช้ดื่มครั้งเดียวให้หมดวันละ 2 ครั้ง เช้าและเย็น (น้ำอ้อย)
ช่วยรักษาอาการตามืดฟาง โดยใช้ผสมกับสมุนไพรอื่น ๆ (ต้น, น้ำอ้อย)
เปลือกนำมาเผาเป็นเถ้าแล้วบดให้ละเอียด ใช้โรยหรือผสมทารักษาโรคปากเป็นแผลอันเนื่องมาจากขาดธาตุอาหาร (เปลือกต้น)
สรรพคุณของอ้อยดำ สำหรับผู้ที่มีอาการร้อนในและปากเปื่อย ให้ตัดอ้อยดำยาวเท่านิ้วชี้จำนวน 3 ท่อน นำแต่ละท่อนมาผ่า 4 ส่วน เอา 3 ส่วน แล้วนำไปแช่น้ำประมาณ 3 แก้ว หลังจากนั้นเติมข้าวสารเจ้าลงไปหยิบมือหนึ่ง แช่ทิ้งไว้ประมาณ 30 นาที แล้วนำมาดื่มครั้งละ 1 แก้ว วันละ 3 ครั้ง ติดต่อกันประมาณ 3-4 วัน (ต้น)
ช่วยแก้อาการเมาค้าง มึนงง อ่อนเพลีย รวมถึงมีอาการวิงเวียนศีรษะเพราะนอนน้อย อยากจะอาเจียน ก็ให้ดื่มน้ำอ้อยคั้นสด 1 แก้ว (ห้ามใส่น้ำแข็ง) แล้วอีกครึ่งชั่วโมงก็ให้ดื่มต่อ 1 แก้ว จะช่วยทำให้รู้สึกสดชื่นขึ้น (ต้น, น้ำอ้อย)
รากใช้รักษาไส้ใหญ่แตกพิการ ทำให้วิงเวียนหน้ามืดตาลาย ทำให้หาวเรอ เสลดขึ้นคอ เจ็บหลังเจ็บเอว ทำให้ขัดอกเสียดสีข้าง ท้องขึ้น ท้องอืด ร้อนท้อง และทำให้ตกเลือดตกหนอง (ราก)
ช่วยบำรุงกระเพาะอาหาร (ต้น, น้ําอ้อย)
ช่วยแก้อาการท้องผูก ด้วยการกินน้ำอ้อยสด 1 แก้ว (สำหรับผู้ใหญ่) ก่อนรับประทานอาหารเช้าประมาณ 1 ชั่วโมง จะช่วยเป็นยาระบายได้เป็นอย่างดี แต่ถ้าเป็นเด็กทารกก็ให้ผสมน้ำตาลทรายแดงลงในนมผงที่ชงให้เด็กกินพอหวาน เนื่องจากน้ำตาลทรายแดงมีฤทธิ์เป็นยาระบายอ่อน ๆ (ต้น, น้ำอ้อย)
ต้นใช้ร่วมกับสมุนไพรอื่น ช่วยรักษาอาการท้องเดิน ถ่ายท้อง ท้องขึ้น (ต้น)
น้ำเหลืองน้ำตาล (ส่วนน้ำที่เหลือจากการตกผลึกเอาน้ำตาลทรายไปแล้ว) ใช้เป็นยาระบาย หากผสมเป็นอาหารสัตว์ในปริมาณมากเกินไป อาจทำให้สัตว์เป็นอันตรายจนอาจถึงตายได้ โดยเฉพาะม้าจะเกิดอาการเป็นพิษได้ง่ายกว่าสัตว์ชนิดอื่น
ต้นใช้ร่วมกับสมุนไพรอื่น ช่วยรักษาอุจจาระเป็นเสมหะโลหิต (ต้น)
ใช้เป็นยาขับปัสสาวะ ด้วยการใช้ลำต้นทั้งสดหรือแห้งวันละ 1 กำ ถ้าเป็นต้นสดให้ใช้ประมาณ 70-90 กรัม แต่ถ้าเป็นแห้งให้ใช้ประมาณ 30-40 กรัม นำมาหั่นเป็นชิ้น ๆ ต้มกับน้ำรับประทานก่อนอาหารครั้งละ 1 ถ้วยชา (ประมาณ 75 มิลลิเมตร) วันละ 3 ครั้ง บ้างก็ระบุว่าให้ดื่มวันละ 2 ครั้ง เช้าและเย็น (ต้น, น้ําอ้อย, ตาอ้อย, ราก)
ช่วยแก้ปัสสาวะพิการ (ต้น, น้ำอ้อย, ทั้งต้น)
ต้นใช้ร่วมกับสมุนไพรอื่น ช่วยรักษาปัสสาวะวิปลาสเป็นสีเหลือง สีแดง (ต้น)
ช่วยล้างทางเดินปัสสาวะ (น้ำอ้อย)
ช่วยขับนิ่ว รักษาโรคนิ่ว แก้โรคช้ำรั่ว แก้อาการขัดเบา ปัสสาวะขัด (ต้น, น้ำอ้อย, ทั้งต้น, ราก)
ช่วยแก้หนองใน (ต้น, น้ำอ้อย)
ช่วยแก้อาการปวดประจำเดือนของสตรี ด้วยการใช้น้ำตาลทรายแดงประมาณ 1 ช้อนโต๊ะพูน ๆ ผสมกับเหล้าขาว 1-3 ช้อนแกง แล้วใช้ดื่ม อาการปวดจะดีขึ้น (น้ําอ้อย)
ช่วยบำรุงโลหิตระดูของสตรีให้งาม (ราก, ทั้งต้น)
ต้นใช้ร่วมกับสมุนไพรอื่น ช่วยรักษาระดูแห้งของสตรี (ต้น)
ช่วยแก้ไตพิการ ด้วยการใช้ต้นสดวันละ 1 กำมือ (ประมาณ 70-90 กรัม) นำมาสับเป็นชิ้นเล็ก ๆ แล้วต้มกับน้ำจะได้ยารสขมหวาน นำมาแบ่งดื่มครั้งละ 1 ถ้วยชา วันละ 2 ครั้ง (ต้น, น้ำอ้อย)
ช่วยขับน้ำเหลือง (ต้น, น้ําอ้อย)
ช่วยรักษาโรคงูสวัด (ต้น)
ช่วยแก้พิษยางน่อง (น้ำอ้อย)
เปลือกต้นมีรสฝาดหวานละเอียด ช่วยแก้แผลเน่าเปื่อย แผลบวมเป็นตุ่ม แผลกดทับ ด้วยการใช้เปลือกต้นนำมาเผาเป็นเถ้าบดให้เป็นผง แล้วนำมาใช้โรยหรือผสมทาที่แผล หรือจะใช้เถ้าที่ได้ผสมกับน้ำมันหอมทาบริเวณที่เป็นแผลก็ได้ (เปลือกต้น)
ช่วยรักษาแผลพุพอง (ต้น)
ชานอ้อยมีรสจืดหวาน ช่วยรักษาแผลเรื้อรัง แผลใต้ผิวหนังเรื้อรัง ด้วยการนำชานอ้อยมาเผาให้เป็นเถ้าหรือบดเป็นผง นำมาใช้โรยหรือผสมทาที่แผลแล้วเอาครีมทาปิดแผลไว้ (ชานอ้อย)
ช่วยแก้ฝีอักเสบบวม ด้วยการนำชานอ้อยมาเผาให้เป็นเถ้าหรือบดให้เป็นผง แล้วนำมาใช้โรยหรือผสมทา หรือใช้ผงเถ้าผสมกับน้ำหอมทาเล็กน้อย และใช้เข็มฆ่าเชื้อเจาะหนองออก แล้วเอาเถ้ามาโรยแผล และใช้เถ้าชานอ้อยผสมกับน้ำมันพืชหรือไขมันทาอีกครั้งจะได้ผลดีขึ้น (ชานอ้อย)
ช่วยรักษาฝีดูดหนอง เข้าใจว่าใช้น้ำอ้อยผสมกับสมุนไพรชนิดอื่น ๆ (น้ำอ้อย)
ช่วยแก้อาการช้ำใน (ต้น, น้ําอ้อย)
ช่วยให้มีบุตร (ราก, ทั้งต้น) แก้ไขข้อมูลเมื่อ 04 Apr 21 08:40
คำสำคัญ:
อ้อย