ชื่อสินค้า:
ชบาป่า ขี้ครอก
รหัส:
340734
ประเภท:
ราคา:
50.00 บาท
/ชอง
ติดต่อ:
คุณอังศรา ไพฑูรย์
ที่อยู่ร้าน:
อ.เมืองระยอง จ.ระยอง
ร้านนี้ยังไม่มีการแจ้งเลขทะเบียนพานิชย์
เปิดร้านมาแล้ว 7 ปี 7 เดือน
ไอดีไลน์:
โทรศัพท์:
คำเตือน: โปรดตรวจสอบความน่าเชื่อถือของร้าน เพื่อหลีกเลี่ยงการทุจริต การขอชำระเงินปลายทางเมื่อรับสินค้าถือเป็นอีกหนึ่งวิธีที่ดี
รายละเอียด
#สรรพคุณของขี้ครอก
รากขี้ครอกใช้รับประทานเป็นยาเย็น มีสรรพคุณเป็นยาดับพิษร้อนถอนพิษไข้ทั้งปวง (ราก)
ใช้เป็นยากระจายเลือดลม (ต้น, ราก, ใบ)
ใช้เป็นยาแก้ไข้หวัดตัวร้อน รักษาอาการไอเป็นเลือด (ต้น, ราก,ใบ)
ตำรายาไทยจะใช้ใบขี้ครอก นำมาต้มกับน้ำจิบแก้ไอ ขับเสมหะ ดับพิษเสมหะ (ใบ)
ใช้เป็นยาแก้บิด รักษาโรคบิดเฉียบพลัน ด้วยการใช้รากสด 500 กรัม นำมาล้างให้สะอาด หั่นเป็นแว่น ๆ ต้มกับน้ำ 1,000 ซีซี โดยต้มจนเหลือน้ำ 500 ซีซี ใช้แบ่งรับประทาน ในเด็กอายุ 1-3 ขวบ ให้รับประทานวันละ 80 ซีซี เด็กอายุ 4-9 ปี ให้รับประทานวันละ 200 ซีซี ส่วนเด็กอายุ 16 ปีขึ้นไป ให้รับประทานวันละ 250 ซีซี โดยแบ่งรับประทานวันละ 2 ครั้ง (ราก)
ต้นและใบใช้ต้มกับน้ำดื่มเป็นยาขับปัสสาวะ (ต้นและใบ, ทั้งต้น)
ใช้เป็นยาแก้นิ่ว (ต้น, ราก, ใบ)
ใช้เป็นยาแก้มุตกิด ตกขาวของสตรี (ต้น, ราก, ใบ)
ตำรายาพื้นบ้านจะใช้รากขี้ครอกผสมกับสมุนไพรอื่น เช่น รากพญาดง ในปริมาณเท่ากัน นำมาหั่นเป็นชิ้นเล็ก ๆ ต้มเคี่ยว ใช้ดื่มแก้หนองใน (ราก)
ต้นและใบใช้ต้มกับน้ำดื่มเป็นยาแก้ไตพิการ แก้พิษน้ำเหลืองเสีย (ต้นและใบ, ทั้งต้น)
ทั้งต้นใช้ตำพอกเป็นยาห้ามเลือด ช่วยสมานแผลสด (ทั้งต้น)
ทั้งต้นใช้ตำพอกแก้ฟกช้ำดำเขียว แก้ฝี แก้ฝีเท้านม แก้พิษงู (ทั้งต้น)
ใช้เป็นยาขับลมชื้นในร่างกาย (ต้น, ราก, ใบ)
ใช้เป็นยาแก้ปวดเมื่อยตามร่างกายเนื่องจากลมชื้นเข้าแทรก (ต้น, ราก, ใบ)
รากใช้เป็นยาพอกแก้โรคปวดข้อ (ราก)
ขนาดและวิธีใช้ : การใช้ตาม รากแห้งให้ใช้ครั้งละ 15-30 กรัม ใบและต้นแห้งให้ใช้ครั้งละ 15-30 กรัม ส่วนทั้งต้นสดนำมาตำพอกบริเวณที่ต้องการ โดยใช้ประมาณ 30-60 กรัมต่อหนึ่งครั้ง
ข้อมูลทางเภสัชวิทยาของขี้ครอก
สารที่พบ ได้แก่ สารพวก Phenols, Amino acid, Glucolin 21.92% และในเมล็ดพบน้ำมัน 13-14%
สารสกัดจากทั้งต้นด้วยแอลกอฮอล์มีฤทธิ์ลดความดันโลหิตและลดไข้ในสัตว์ทดลอง
สารสกัดจากราก ผล และใบขี้ครอก มีฤทธิ์ต้านการเจริญของเชื้อรา
สารสกัดจากเมล็ดขี้ครอกด้วยแอลกอฮอล์มีฤทธิ์ต้านการเจริญของเชื้อราได้ดีมาก
ประโยชน์ของขี้ครอก
ชาวลั้วะจะใช้ลำต้นของขี้ครอกนำมาทำเป็นไม้กวาด แก้ไขข้อมูลเมื่อ 19 Nov 20 12:14
รากขี้ครอกใช้รับประทานเป็นยาเย็น มีสรรพคุณเป็นยาดับพิษร้อนถอนพิษไข้ทั้งปวง (ราก)
ใช้เป็นยากระจายเลือดลม (ต้น, ราก, ใบ)
ใช้เป็นยาแก้ไข้หวัดตัวร้อน รักษาอาการไอเป็นเลือด (ต้น, ราก,ใบ)
ตำรายาไทยจะใช้ใบขี้ครอก นำมาต้มกับน้ำจิบแก้ไอ ขับเสมหะ ดับพิษเสมหะ (ใบ)
ใช้เป็นยาแก้บิด รักษาโรคบิดเฉียบพลัน ด้วยการใช้รากสด 500 กรัม นำมาล้างให้สะอาด หั่นเป็นแว่น ๆ ต้มกับน้ำ 1,000 ซีซี โดยต้มจนเหลือน้ำ 500 ซีซี ใช้แบ่งรับประทาน ในเด็กอายุ 1-3 ขวบ ให้รับประทานวันละ 80 ซีซี เด็กอายุ 4-9 ปี ให้รับประทานวันละ 200 ซีซี ส่วนเด็กอายุ 16 ปีขึ้นไป ให้รับประทานวันละ 250 ซีซี โดยแบ่งรับประทานวันละ 2 ครั้ง (ราก)
ต้นและใบใช้ต้มกับน้ำดื่มเป็นยาขับปัสสาวะ (ต้นและใบ, ทั้งต้น)
ใช้เป็นยาแก้นิ่ว (ต้น, ราก, ใบ)
ใช้เป็นยาแก้มุตกิด ตกขาวของสตรี (ต้น, ราก, ใบ)
ตำรายาพื้นบ้านจะใช้รากขี้ครอกผสมกับสมุนไพรอื่น เช่น รากพญาดง ในปริมาณเท่ากัน นำมาหั่นเป็นชิ้นเล็ก ๆ ต้มเคี่ยว ใช้ดื่มแก้หนองใน (ราก)
ต้นและใบใช้ต้มกับน้ำดื่มเป็นยาแก้ไตพิการ แก้พิษน้ำเหลืองเสีย (ต้นและใบ, ทั้งต้น)
ทั้งต้นใช้ตำพอกเป็นยาห้ามเลือด ช่วยสมานแผลสด (ทั้งต้น)
ทั้งต้นใช้ตำพอกแก้ฟกช้ำดำเขียว แก้ฝี แก้ฝีเท้านม แก้พิษงู (ทั้งต้น)
ใช้เป็นยาขับลมชื้นในร่างกาย (ต้น, ราก, ใบ)
ใช้เป็นยาแก้ปวดเมื่อยตามร่างกายเนื่องจากลมชื้นเข้าแทรก (ต้น, ราก, ใบ)
รากใช้เป็นยาพอกแก้โรคปวดข้อ (ราก)
ขนาดและวิธีใช้ : การใช้ตาม รากแห้งให้ใช้ครั้งละ 15-30 กรัม ใบและต้นแห้งให้ใช้ครั้งละ 15-30 กรัม ส่วนทั้งต้นสดนำมาตำพอกบริเวณที่ต้องการ โดยใช้ประมาณ 30-60 กรัมต่อหนึ่งครั้ง
ข้อมูลทางเภสัชวิทยาของขี้ครอก
สารที่พบ ได้แก่ สารพวก Phenols, Amino acid, Glucolin 21.92% และในเมล็ดพบน้ำมัน 13-14%
สารสกัดจากทั้งต้นด้วยแอลกอฮอล์มีฤทธิ์ลดความดันโลหิตและลดไข้ในสัตว์ทดลอง
สารสกัดจากราก ผล และใบขี้ครอก มีฤทธิ์ต้านการเจริญของเชื้อรา
สารสกัดจากเมล็ดขี้ครอกด้วยแอลกอฮอล์มีฤทธิ์ต้านการเจริญของเชื้อราได้ดีมาก
ประโยชน์ของขี้ครอก
ชาวลั้วะจะใช้ลำต้นของขี้ครอกนำมาทำเป็นไม้กวาด แก้ไขข้อมูลเมื่อ 19 Nov 20 12:14
คำสำคัญ:
ชบา