ชื่อสินค้า:
ขายพันธุ์กระทือ
รหัส:
338638
ประเภท:
ราคา:
120.00 บาท
ติดต่อ:
คุณอังศรา ไพฑูรย์
ที่อยู่ร้าน:
อ.เมืองระยอง จ.ระยอง
ร้านนี้ยังไม่มีการแจ้งเลขทะเบียนพานิชย์
เปิดร้านมาแล้ว 7 ปี 9 เดือน
ไอดีไลน์:
โทรศัพท์:
คำเตือน: โปรดตรวจสอบความน่าเชื่อถือของร้าน เพื่อหลีกเลี่ยงการทุจริต การขอชำระเงินปลายทางเมื่อรับสินค้าถือเป็นอีกหนึ่งวิธีที่ดี
รายละเอียด
ขายหน่อกระทือพร้อมปลูกกกละ120บาทสนใจแจ้งจำนวนที่ต้องการและแจ้งที่อยู่จัดส่งได้เลยคะส่งเคอรี่เก็บปลายทางสนใจโทร0876069955ไอดีไลน์aungsara09. #สรรพคุณของกระทือ
ใช้เป็นยาบำรุงกำลัง (เหง้า)
ช่วยบำรุงธาตุในร่างกาย (ดอก)
ช่วยขับน้ำย่อย ช่วยให้เจริญอาหาร (เหง้า)
ช่วยแก้อาการเบื่ออาหาร ช่วยให้เจริญอาหาร ทำให้สามารถรับประทานอาหารมีรสได้ (ต้น)
ช่วยแก้โรคผอมแห้ง ผอมเหลือง (ดอก)
ช่วยขับเลือดเน่าร้ายในเรือนไฟ (ใบ)
แก้เบาเป็นโลหิต (ใบ)
มีการใช้เหง้ากระทือในตำรับยา "พิกัดตรีผลธาตุ" ซึ่งประกอบไปด้วย เหง้ากระทือ เหง้าไพล หัวตะไคร้หอม โดยตำรับยานี้มีสรรพคุณช่วยบำรุงธาตุไฟ แก้ไข้ตัวร้อน และช่วยแก้เลือดกำเดาไหล (เหง้า)
ช่วยแก้อาการแน่นหน้าอก (เหง้า)
กระทือมีสรรพคุณช่วยแก้ไข้ (ต้น)
ช่วยแก้ไข้เรื้อรัง (ดอก)
ช่วยแก้ไข้ต่าง ๆ แก้ไข้ตัวร้อน แก้ไข้ตัวเย็นที่รู้สึกร้อนภายใน (ราก)
ช่วยแก้เสมหะเป็นพิษ (เหง้า)
ดอกช่วยแก้ลม (ดอก)
ช่วยแก้บิด บิดป่วงเบ่ง แก้อาการปวดท้อง อาการปวดมวนในท้อง อาการท้องอืด ท้องเฟ้อ จุกเสียดแน่นท้อง และช่วยขับผายลมในลำไส้ ด้วยการใช้หัวกระทือหรือเหง้ากระทือสด ประมาณ 20 กรัม (ขนาดเท่าหัวแม่มือ 2 หัว) นำมาย่างไฟพอสุก แล้วนำมาตำเข้ากับน้ำปูนใสครึ่งแก้ว คั้นเอาแต่น้ำมาดื่มเมื่อมีอาการ (เหง้า)
ช่วยกล่อมอาจมหรืออุจจาระ ใช้สูตรเดียวกันกับแก้บิด (เหง้า)
เหง้าหรือหัวกระทือประกอบไปด้วยน้ำมันหอมระเหย (Essential oil) ที่ประกอบไปด้วยสาร Methyl-gingerol, Zingerone, และ Citral ซึ่งมีฤทธิ์ในการขับลมได้และไม่มีพิษเฉียบพลันในหนูถีบจักร (เหง้า)
เหง้าช่วยขับปัสสาวะ (เหง้า)
เหง้ากระทือมีสรรพคุณช่วยแก้ฝี (เหง้า)
ช่วยแก้อาการเคล็ดขัดยอก ด้วยการใช้หัวกระทือนำมาฝนแล้วใช้ทาบริเวณที่มีอาการเคล็ด (เหง้า, ราก)
ช่วยบำรุงและขับน้ำนมของสตรี (เหง้า)
ประโยชน์ของกระทือ
ใช้ปลูกเป็นไม้ประดับ เพื่อความสวยงามในสถานที่ต่าง ๆ
ดอกกระทือสามารถนำไปใช้ปักแจกันเพื่อความสวยงามได้
กระทือเป็นพืชที่มีสารอาหารน้อย แต่สำหรับบางท้องถิ่นก็มีการใช้หัวกระทือในการประกอบอาหาร ซึ่งเนื้อในจะมีรสขมเล็กน้อย ต้องนำมาหั่นแล้วขยำกับน้ำเกลือนาน ๆ ก่อนนำมารับประทาน โดยทางภาคใต้ฝั่งทะเลอันดามัน มีการใช้เหง้าไปแกงกับปลาย่างเพื่อใช้รับประทาน
ในจังหวัดกาญจนบุรีมีการนำดอกแห้งของกระทือและเหง้ากระทือมาใช้รับประทานเป็นผักหรือใส่ในน้ำพริกรับประทาน
หน่ออ่อนหรือต้นอ่อนกระทือสามารถนำมาทำแกงเผ็ด แกงไตปลา หรือนำไปต้มจิ้มกินกับน้ำพริกได้
สารสกัดจากกระทือด้วยเมทิลแอลกอฮอล์ สามารถนำมาใช้ป้องกันและกำจัดเหาได้เป็นอย่างดี ซึ่งได้ผลดีกว่าขมิ้นชัน ขิง และไพล แก้ไขข้อมูลเมื่อ 21 Sep 20 09:07
ใช้เป็นยาบำรุงกำลัง (เหง้า)
ช่วยบำรุงธาตุในร่างกาย (ดอก)
ช่วยขับน้ำย่อย ช่วยให้เจริญอาหาร (เหง้า)
ช่วยแก้อาการเบื่ออาหาร ช่วยให้เจริญอาหาร ทำให้สามารถรับประทานอาหารมีรสได้ (ต้น)
ช่วยแก้โรคผอมแห้ง ผอมเหลือง (ดอก)
ช่วยขับเลือดเน่าร้ายในเรือนไฟ (ใบ)
แก้เบาเป็นโลหิต (ใบ)
มีการใช้เหง้ากระทือในตำรับยา "พิกัดตรีผลธาตุ" ซึ่งประกอบไปด้วย เหง้ากระทือ เหง้าไพล หัวตะไคร้หอม โดยตำรับยานี้มีสรรพคุณช่วยบำรุงธาตุไฟ แก้ไข้ตัวร้อน และช่วยแก้เลือดกำเดาไหล (เหง้า)
ช่วยแก้อาการแน่นหน้าอก (เหง้า)
กระทือมีสรรพคุณช่วยแก้ไข้ (ต้น)
ช่วยแก้ไข้เรื้อรัง (ดอก)
ช่วยแก้ไข้ต่าง ๆ แก้ไข้ตัวร้อน แก้ไข้ตัวเย็นที่รู้สึกร้อนภายใน (ราก)
ช่วยแก้เสมหะเป็นพิษ (เหง้า)
ดอกช่วยแก้ลม (ดอก)
ช่วยแก้บิด บิดป่วงเบ่ง แก้อาการปวดท้อง อาการปวดมวนในท้อง อาการท้องอืด ท้องเฟ้อ จุกเสียดแน่นท้อง และช่วยขับผายลมในลำไส้ ด้วยการใช้หัวกระทือหรือเหง้ากระทือสด ประมาณ 20 กรัม (ขนาดเท่าหัวแม่มือ 2 หัว) นำมาย่างไฟพอสุก แล้วนำมาตำเข้ากับน้ำปูนใสครึ่งแก้ว คั้นเอาแต่น้ำมาดื่มเมื่อมีอาการ (เหง้า)
ช่วยกล่อมอาจมหรืออุจจาระ ใช้สูตรเดียวกันกับแก้บิด (เหง้า)
เหง้าหรือหัวกระทือประกอบไปด้วยน้ำมันหอมระเหย (Essential oil) ที่ประกอบไปด้วยสาร Methyl-gingerol, Zingerone, และ Citral ซึ่งมีฤทธิ์ในการขับลมได้และไม่มีพิษเฉียบพลันในหนูถีบจักร (เหง้า)
เหง้าช่วยขับปัสสาวะ (เหง้า)
เหง้ากระทือมีสรรพคุณช่วยแก้ฝี (เหง้า)
ช่วยแก้อาการเคล็ดขัดยอก ด้วยการใช้หัวกระทือนำมาฝนแล้วใช้ทาบริเวณที่มีอาการเคล็ด (เหง้า, ราก)
ช่วยบำรุงและขับน้ำนมของสตรี (เหง้า)
ประโยชน์ของกระทือ
ใช้ปลูกเป็นไม้ประดับ เพื่อความสวยงามในสถานที่ต่าง ๆ
ดอกกระทือสามารถนำไปใช้ปักแจกันเพื่อความสวยงามได้
กระทือเป็นพืชที่มีสารอาหารน้อย แต่สำหรับบางท้องถิ่นก็มีการใช้หัวกระทือในการประกอบอาหาร ซึ่งเนื้อในจะมีรสขมเล็กน้อย ต้องนำมาหั่นแล้วขยำกับน้ำเกลือนาน ๆ ก่อนนำมารับประทาน โดยทางภาคใต้ฝั่งทะเลอันดามัน มีการใช้เหง้าไปแกงกับปลาย่างเพื่อใช้รับประทาน
ในจังหวัดกาญจนบุรีมีการนำดอกแห้งของกระทือและเหง้ากระทือมาใช้รับประทานเป็นผักหรือใส่ในน้ำพริกรับประทาน
หน่ออ่อนหรือต้นอ่อนกระทือสามารถนำมาทำแกงเผ็ด แกงไตปลา หรือนำไปต้มจิ้มกินกับน้ำพริกได้
สารสกัดจากกระทือด้วยเมทิลแอลกอฮอล์ สามารถนำมาใช้ป้องกันและกำจัดเหาได้เป็นอย่างดี ซึ่งได้ผลดีกว่าขมิ้นชัน ขิง และไพล แก้ไขข้อมูลเมื่อ 21 Sep 20 09:07
คำสำคัญ:
กระทือ