ชื่อสินค้า:
ขายสมุนไพรแมงลักคา แมงลักป่า
รหัส:
335518
ประเภท:
ราคา:
50.00 บาท
ติดต่อ:
คุณอังศรา ไพฑูรย์
ที่อยู่ร้าน:
อ.เมืองระยอง จ.ระยอง
ร้านนี้ยังไม่มีการแจ้งเลขทะเบียนพานิชย์
เปิดร้านมาแล้ว 7 ปี 9 เดือน
ไอดีไลน์:
โทรศัพท์:
คำเตือน: โปรดตรวจสอบความน่าเชื่อถือของร้าน เพื่อหลีกเลี่ยงการทุจริต การขอชำระเงินปลายทางเมื่อรับสินค้าถือเป็นอีกหนึ่งวิธีที่ดี
รายละเอียด
ขายเมล็ดพร้อมเพาะและต้นกล้าแมงลักคาแมงลักป่า ชุกละ50บาทต้นละ50บาทสนใจแจ้งจำนวนที่ต้องการและแจ้งที่อยู่จัดส่งได้เลยคะส่งเคอรี่เก็บปลายทางสนใจโทร0876069955ไอดีไลน์aungsara09 #สรรพคุณของแมงลักคา
รากใช้ต้มกับน้ำดื่มเป็นยาช่วยทำให้เจริญอาหาร (ราก)
ช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือด ป้องกันเบาหวาน ด้วยการใช้ใบและต้นสดประมาณ 1 กำมือ นำมาต้มกับน้ำ 3 แก้ว เคี่ยวให้นาน 30 นาที แล้วนำมาแบ่งดื่มเช้าและเย็น (ใบ, ต้น)
ตำรายาไทยจะใบนำมาชงกับน้ำดื่มเป็นยาลดไข้ (ใบ)
ช่วยฆ่าเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ ไข้หวัดนก (ทั้งต้นยกเว้นราก)
ยอดอ่อนมีสรรพคุณเป็นยาแก้หวัดและช่วยขับเหงื่อ ส่วนยาชงจากต้นก็มีสรรพคุณเป็นยาขับเหงื่อในคนที่เป็นหวัดเช่นกัน (ยอดอ่อน, ทั้งต้น)
ใบนำมาชงกับน้ำดื่มเป็นยาแก้ปวดท้อง (ใบ) ส่วนอีกข้อมูลระบุว่า ให้ใช้ทั้งต้นเป็นยาพอกแก้อาการปวดท้อง (ทั้งต้น)
รากนำมาต้มกับน้ำดื่มเป็นยาช่วยขับระดูของสตรี (ราก)
ทั้งต้นและใบใช้ตำพอกแก้โรคผิวหนัง (ใบ, ทั้งต้น)
ใบนำมาบดใช้เป็นยาฆ่าเชื้อ (ใบ)
ใบและปลายยอด ใช้เป็นยารักษาอาการชักกระตุกและโรคปวดข้อ (ใบ, ปลายยอด)
ยอดอ่อนแมงลักคามีสรรพคุณช่วยขับน้ำนม (ยอดอ่อน)
ข้อมูลทางเภสัชวิทยาของแมงลักคา
สารสำคัญที่พบในแมงลักคา ได้แก่ amyrin, aromadendrene, azulene, bergamotol, betulinic acid, cadinol, caryophyllene, citronellol acetate, elemene, eugenol, fenchone, friedelin, fucosterol, germacrene, hyptadienic acid, linalool, lupeol, oleanolic acid, rimuene, sabinene, terpinolene, ursolic acid, valencene
เหง้าประกอบไปด้วยน้ำมันหอมระเหยร้อยละ 0.08 มีองค์ประกอบทางเคมี ดังนี้ a-bergamotene, a-copaene, a-guaiene, a-fenchol, a-humulene, a-thujene, a-terpinene, a-terpineol, a-phellandrene, a-pinene, borneol, b-bourbonene, b-caryophyllene, b-pinene, camphene, camphor, caryophyllene oxide, d-3-carene, g-terpinene, fenchone, linalool, myrcene, p-cymene, sabinene, terpinolene, terpinen-4-ol, thymol, 1,8-cineole, (Z)- b-ocimene, (E)- b-ocimene [9]
แมงลักคามีฤทธิ์ลดระดับน้ำตาลในเลือด เพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจ ทำให้กล้ามเนื้อเรียบหดตัว คลายตัว
สารสกัดจากแมงลักคามีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อจุลินทรีย์ซาโมเนลลา ยับยั้งเชื้อไวรัสต่าง ๆ เช่น ไข้หวัดใหญ่ และเสริมภูมิคุ้มกันโรคเอดส์ ไม่มีผลข้างเคียงทั้งในคนและสัตว์ (นพ.วัลลภ ไทยเหนือ)
มีรายงานว่า การใช้แมงลักคาเพื่อเป็นยากระตุ้นเพื่อการขับลม ขับเหงื่อ ขับน้ำนม และต้านการติดเชื้อ ส่วนน้ำมันหอมระเหยในแมงลักคามีฤทธิ์ต้านการเจริญเติบโตของแบคทีเรียทั้งแกรมบวกและลบ รวมไปถึงฤทธิ์อย่างอ่อนในการต้านเชื้อรา Aspergillus niger และ Candida albicans
เมื่อปี ค.ศ.1984 ที่ประเทศอินเดีย ได้ทำการทดลองใช้สารสกัดจากส่วนที่อยู่เหนือดินของต้นแมงลักคาในหนูถีบจักรทดลอง ผลการทดลองพบว่า สามารถลดระดับน้ำตาลในเลือดของหนูได้จริง
จากการทดสอบใช้สารสกัดแมงลักคากับอาสาสมัครคนละ 3,000 มิลลิกรัม พบว่าได้ผลฆ่าเชื้อถึงร้อยละ 50 เมื่อเทียบกับการใช้ยาทามิฟลู (Tamiflu) พบว่าอยู่ในสัดส่วนที่ใกล้เคียงกัน โดยสารสกัดจากแมงลักคาสามารถออกฤทธิ์ฆ่าเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ทั้ง 3 สายพันธุ์ คือ H1-3 รวมถึง H5 ที่เป็นสายพันธุ์ไข้หวัดนก และคาดว่าจะใช้เวลาอีก 1-2 ปี เพื่อพัฒนาเป็นสารสกัดแมงลักคาแคปซูล ก่อนจะขึ้นทะเบียนเป็นยาสมุนไพรแผนปัจจุบัน (นพ.พงศ์พันธ์ วงศ์มณี)
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ได้ประสบความสำเร็จในการวิจัยสมุนไพรแมงลักคาเพื่อใช้รักษาไข้หวัดใหญ่ ที่มีชื่อว่า "ไฟโต-1" (Phyto-1) โดยสามารถฆ่าเชื้อไข้หวัดได้ในระดับห้องปฏิบัติการ โดยการใช้สมุนไพรไฟโต-1 ในขนาด 5 มิลลิกรัม สามารถช่วยลดเชื้อไข้หวัดใหญ่ (H3N2) ลงได้ถึงร้อยละ 93 มีความปลอดภัยต่อสัตว์ทดลองและอาสาสมัครที่มีสุขภาพแข็งแรง (ส่วนที่นำมาสกัดเป็นยาฆ่าเชื้อ คือส่วนของลำต้น ใบ ดอก และผล ยกเว้นราก)
น้ำมันแมงลักคามีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา ราพืชก่อโรคพืช และยีสต์
สารสกัดด้วยแอลกอฮอล์ของใบแมงลักคามีฤทธิ์ช่วยสมานแผล ซึ่งอาจเกิดจากคุณสมบัติในการต้านอนุมูลอิสระ และส่งเสริมเอนไซม์ต้านปฏิกิริยาออกซิเดชั่นที่ช่วยในการสร้างเนื้อเยื่อใหม่เพื่อทดแทนเนื้อเยื่อที่ตายไป
จากการศึกษา พบว่าสูตรสะเดาผสมกับแมงลักคาความเข้มข้น 5,000 ส่วนในล้านส่วน สามารถทำให้ต้นมะละกอเจริญเติบโตได้ดีกว่า เมื่อเปรียบกับการใช้สารในกลุ่มโมโนโครโตฟอส และสารสกัดดังกล่าวยังสามารถทำให้ไข่ไรแดงแอฟริกันไม่สามารถฟักได้ร้อยละ 95 ภายในเวลาเพียง 10.39 ชั่วโมง ในขณะที่สารเคมีสังเคราะห์จะต้องใช้เวลาถึง 21.30 ชั่วโมง
จากการทดสอบความเป็นพิษ พบว่า เมื่อใช้สารสกัดจากส่วนที่อยู่เหนือดินของต้นแมงลักคา ฉีดเข้าท้องของหนูถีบจักร ขนาดที่ทำให้หนูตายครึ่งหนึ่ง มีค่าเท่ากับ 56.2 มิลลิกรัมต่อกรัม ถ้าเป็นสารสกัดจากใบสด พบว่าในขนาดที่ทำให้เกิดพิษคือ 1 มิลลิกรัมต่อสัตว์ทดลอง 1 ตัว ส่วนอีกข้อมูลหนึ่งระบุว่า ขนาดที่ทำให้หนูทดลองตายครึ่งหนึ่ง มีค่าเท่ากับ 1.412 กรัมต่อกิโลกรัม เมื่อทดลองโดยการฉีดเข้าทางช่องท้องของหนูถีบจักร
ประโยชน์ของแมงลักคา
ยอดอ่อนของแมงลักคาสามารถนำมาใช้ปรุงแต่งรสชาติอาหารได้
น้ำมันหอมระเหยจากแมงลักคา มีกลิ่นคล้ายกับน้ำมันแพตซูลี่ จึงได้มีการนำไปใช้เจือปนในน้ำมันแพตซูลี่
รากนำมาเคี้ยวช่วยดับกลิ่นปากได้
แมงลักคาเป็นวัชพืชที่มีคุณสมบัติในการช่วยป้องกันและกำจัดแมลง (โดยสามารถนำส่วนที่อยู่เหนือดินมาสกัดเป็นน้ำมันหอมระเหย มีฤทธิ์ป้องกันและกำจัดแมลงศัตรูพืช จึงเหมาะกับการนำไปใช้กับพืชผลทางการเกษตรแทนการใช้สารเคมี เพื่อป้องกันและกำจัดเพลี้ยอ่อนในพริก หนอนห่อใบมะม่วง อย่างได้ผลและไม่ทำลายสภาพแวดล้อม)
กิ่งและใบนำมาทุบวางไว้ในเล้าไก่ จะช่วยไล่ไรไก่ได้ ส่วนทั้งต้นและใบมีประโยชน์ในด้านการช่วยไล่แมลงโดยนำส่วนของใบมาใส่ตามเครื่องเรือนเพื่อไล่แมลง
ต้นแมงลักคาอาจใช้เป็นอาหารปศุสัตว์ได้ แก้ไขข้อมูลเมื่อ 18 Jul 20 09:25
รากใช้ต้มกับน้ำดื่มเป็นยาช่วยทำให้เจริญอาหาร (ราก)
ช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือด ป้องกันเบาหวาน ด้วยการใช้ใบและต้นสดประมาณ 1 กำมือ นำมาต้มกับน้ำ 3 แก้ว เคี่ยวให้นาน 30 นาที แล้วนำมาแบ่งดื่มเช้าและเย็น (ใบ, ต้น)
ตำรายาไทยจะใบนำมาชงกับน้ำดื่มเป็นยาลดไข้ (ใบ)
ช่วยฆ่าเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ ไข้หวัดนก (ทั้งต้นยกเว้นราก)
ยอดอ่อนมีสรรพคุณเป็นยาแก้หวัดและช่วยขับเหงื่อ ส่วนยาชงจากต้นก็มีสรรพคุณเป็นยาขับเหงื่อในคนที่เป็นหวัดเช่นกัน (ยอดอ่อน, ทั้งต้น)
ใบนำมาชงกับน้ำดื่มเป็นยาแก้ปวดท้อง (ใบ) ส่วนอีกข้อมูลระบุว่า ให้ใช้ทั้งต้นเป็นยาพอกแก้อาการปวดท้อง (ทั้งต้น)
รากนำมาต้มกับน้ำดื่มเป็นยาช่วยขับระดูของสตรี (ราก)
ทั้งต้นและใบใช้ตำพอกแก้โรคผิวหนัง (ใบ, ทั้งต้น)
ใบนำมาบดใช้เป็นยาฆ่าเชื้อ (ใบ)
ใบและปลายยอด ใช้เป็นยารักษาอาการชักกระตุกและโรคปวดข้อ (ใบ, ปลายยอด)
ยอดอ่อนแมงลักคามีสรรพคุณช่วยขับน้ำนม (ยอดอ่อน)
ข้อมูลทางเภสัชวิทยาของแมงลักคา
สารสำคัญที่พบในแมงลักคา ได้แก่ amyrin, aromadendrene, azulene, bergamotol, betulinic acid, cadinol, caryophyllene, citronellol acetate, elemene, eugenol, fenchone, friedelin, fucosterol, germacrene, hyptadienic acid, linalool, lupeol, oleanolic acid, rimuene, sabinene, terpinolene, ursolic acid, valencene
เหง้าประกอบไปด้วยน้ำมันหอมระเหยร้อยละ 0.08 มีองค์ประกอบทางเคมี ดังนี้ a-bergamotene, a-copaene, a-guaiene, a-fenchol, a-humulene, a-thujene, a-terpinene, a-terpineol, a-phellandrene, a-pinene, borneol, b-bourbonene, b-caryophyllene, b-pinene, camphene, camphor, caryophyllene oxide, d-3-carene, g-terpinene, fenchone, linalool, myrcene, p-cymene, sabinene, terpinolene, terpinen-4-ol, thymol, 1,8-cineole, (Z)- b-ocimene, (E)- b-ocimene [9]
แมงลักคามีฤทธิ์ลดระดับน้ำตาลในเลือด เพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจ ทำให้กล้ามเนื้อเรียบหดตัว คลายตัว
สารสกัดจากแมงลักคามีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อจุลินทรีย์ซาโมเนลลา ยับยั้งเชื้อไวรัสต่าง ๆ เช่น ไข้หวัดใหญ่ และเสริมภูมิคุ้มกันโรคเอดส์ ไม่มีผลข้างเคียงทั้งในคนและสัตว์ (นพ.วัลลภ ไทยเหนือ)
มีรายงานว่า การใช้แมงลักคาเพื่อเป็นยากระตุ้นเพื่อการขับลม ขับเหงื่อ ขับน้ำนม และต้านการติดเชื้อ ส่วนน้ำมันหอมระเหยในแมงลักคามีฤทธิ์ต้านการเจริญเติบโตของแบคทีเรียทั้งแกรมบวกและลบ รวมไปถึงฤทธิ์อย่างอ่อนในการต้านเชื้อรา Aspergillus niger และ Candida albicans
เมื่อปี ค.ศ.1984 ที่ประเทศอินเดีย ได้ทำการทดลองใช้สารสกัดจากส่วนที่อยู่เหนือดินของต้นแมงลักคาในหนูถีบจักรทดลอง ผลการทดลองพบว่า สามารถลดระดับน้ำตาลในเลือดของหนูได้จริง
จากการทดสอบใช้สารสกัดแมงลักคากับอาสาสมัครคนละ 3,000 มิลลิกรัม พบว่าได้ผลฆ่าเชื้อถึงร้อยละ 50 เมื่อเทียบกับการใช้ยาทามิฟลู (Tamiflu) พบว่าอยู่ในสัดส่วนที่ใกล้เคียงกัน โดยสารสกัดจากแมงลักคาสามารถออกฤทธิ์ฆ่าเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ทั้ง 3 สายพันธุ์ คือ H1-3 รวมถึง H5 ที่เป็นสายพันธุ์ไข้หวัดนก และคาดว่าจะใช้เวลาอีก 1-2 ปี เพื่อพัฒนาเป็นสารสกัดแมงลักคาแคปซูล ก่อนจะขึ้นทะเบียนเป็นยาสมุนไพรแผนปัจจุบัน (นพ.พงศ์พันธ์ วงศ์มณี)
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ได้ประสบความสำเร็จในการวิจัยสมุนไพรแมงลักคาเพื่อใช้รักษาไข้หวัดใหญ่ ที่มีชื่อว่า "ไฟโต-1" (Phyto-1) โดยสามารถฆ่าเชื้อไข้หวัดได้ในระดับห้องปฏิบัติการ โดยการใช้สมุนไพรไฟโต-1 ในขนาด 5 มิลลิกรัม สามารถช่วยลดเชื้อไข้หวัดใหญ่ (H3N2) ลงได้ถึงร้อยละ 93 มีความปลอดภัยต่อสัตว์ทดลองและอาสาสมัครที่มีสุขภาพแข็งแรง (ส่วนที่นำมาสกัดเป็นยาฆ่าเชื้อ คือส่วนของลำต้น ใบ ดอก และผล ยกเว้นราก)
น้ำมันแมงลักคามีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา ราพืชก่อโรคพืช และยีสต์
สารสกัดด้วยแอลกอฮอล์ของใบแมงลักคามีฤทธิ์ช่วยสมานแผล ซึ่งอาจเกิดจากคุณสมบัติในการต้านอนุมูลอิสระ และส่งเสริมเอนไซม์ต้านปฏิกิริยาออกซิเดชั่นที่ช่วยในการสร้างเนื้อเยื่อใหม่เพื่อทดแทนเนื้อเยื่อที่ตายไป
จากการศึกษา พบว่าสูตรสะเดาผสมกับแมงลักคาความเข้มข้น 5,000 ส่วนในล้านส่วน สามารถทำให้ต้นมะละกอเจริญเติบโตได้ดีกว่า เมื่อเปรียบกับการใช้สารในกลุ่มโมโนโครโตฟอส และสารสกัดดังกล่าวยังสามารถทำให้ไข่ไรแดงแอฟริกันไม่สามารถฟักได้ร้อยละ 95 ภายในเวลาเพียง 10.39 ชั่วโมง ในขณะที่สารเคมีสังเคราะห์จะต้องใช้เวลาถึง 21.30 ชั่วโมง
จากการทดสอบความเป็นพิษ พบว่า เมื่อใช้สารสกัดจากส่วนที่อยู่เหนือดินของต้นแมงลักคา ฉีดเข้าท้องของหนูถีบจักร ขนาดที่ทำให้หนูตายครึ่งหนึ่ง มีค่าเท่ากับ 56.2 มิลลิกรัมต่อกรัม ถ้าเป็นสารสกัดจากใบสด พบว่าในขนาดที่ทำให้เกิดพิษคือ 1 มิลลิกรัมต่อสัตว์ทดลอง 1 ตัว ส่วนอีกข้อมูลหนึ่งระบุว่า ขนาดที่ทำให้หนูทดลองตายครึ่งหนึ่ง มีค่าเท่ากับ 1.412 กรัมต่อกิโลกรัม เมื่อทดลองโดยการฉีดเข้าทางช่องท้องของหนูถีบจักร
ประโยชน์ของแมงลักคา
ยอดอ่อนของแมงลักคาสามารถนำมาใช้ปรุงแต่งรสชาติอาหารได้
น้ำมันหอมระเหยจากแมงลักคา มีกลิ่นคล้ายกับน้ำมันแพตซูลี่ จึงได้มีการนำไปใช้เจือปนในน้ำมันแพตซูลี่
รากนำมาเคี้ยวช่วยดับกลิ่นปากได้
แมงลักคาเป็นวัชพืชที่มีคุณสมบัติในการช่วยป้องกันและกำจัดแมลง (โดยสามารถนำส่วนที่อยู่เหนือดินมาสกัดเป็นน้ำมันหอมระเหย มีฤทธิ์ป้องกันและกำจัดแมลงศัตรูพืช จึงเหมาะกับการนำไปใช้กับพืชผลทางการเกษตรแทนการใช้สารเคมี เพื่อป้องกันและกำจัดเพลี้ยอ่อนในพริก หนอนห่อใบมะม่วง อย่างได้ผลและไม่ทำลายสภาพแวดล้อม)
กิ่งและใบนำมาทุบวางไว้ในเล้าไก่ จะช่วยไล่ไรไก่ได้ ส่วนทั้งต้นและใบมีประโยชน์ในด้านการช่วยไล่แมลงโดยนำส่วนของใบมาใส่ตามเครื่องเรือนเพื่อไล่แมลง
ต้นแมงลักคาอาจใช้เป็นอาหารปศุสัตว์ได้ แก้ไขข้อมูลเมื่อ 18 Jul 20 09:25
คำสำคัญ:
แมงลักคา