ชื่อสินค้า:
บี-ไฟท์เตอร์ : สารเสริมภูมิคุ้มกันพืชอินทรีย์
รหัส:
330236
ประเภท:
ราคา:
350.00 บาท
/ขวด
ติดต่อ:
คุณจุฑารัตน์ มีจิตร
ที่อยู่ร้าน:
อ.นาคู จ.กาฬสินธุ์
ร้านนี้ยังไม่มีการแจ้งเลขทะเบียนพานิชย์
เปิดร้านมาแล้ว 11 ปี 9 เดือน
ไอดีไลน์:
โทรศัพท์:
คำเตือน: โปรดตรวจสอบความน่าเชื่อถือของร้าน เพื่อหลีกเลี่ยงการทุจริต การขอชำระเงินปลายทางเมื่อรับสินค้าถือเป็นอีกหนึ่งวิธีที่ดี
รายละเอียด
บี-ไฟท์เตอร์ เป็นสารสกัดธรรมชาติจากพืชสมุนไพรกว่า 7 ชนิด ประกอบด้วยสารประกอบธรรมชาติที่มีฤทธิ์ขับไล่ ป้องกัน ยับยั้งและทำลายศัตรูพืชทุกชนิด ไม่ว่าจะเป็นแมลง หนอน เพลี้ย ตลอดจนโรคพืชต่างๆ เช่น เชื้อรา แบคทีเรียและไวรัส นับว่าเป็นสารควบคุมและกำจัดศัตรูพืชอินทรีย์ที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพสูงเทียบเท่ากับสารเคมี แต่มีข้อดีกว่าสารเคมีคือสามารถออกฤทธิ์ได้นานกว่าและมีความปลอดภัยสูงต่อผู้ใช้ ผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม
บี-ไฟท์เตอร์ มีกลไกการทำงานดังต่อไปนี้
1. ขับไล่ศัตรูพืช เนื่องจากบี-ไฟท์เตอร์มีกลิ่นพิเศษที่สามารถขับไล่ศัตรูพืชได้
2. ป้องกันการขยายพันธุ์ของศัตรูพืช เช่น มีฤทธิ์ไปยับยั้งการแบ่งเซลล์ และยับยั้งการลอกคราบของแมลง หรือการงอกของสปอร์เชื้อรา เป็นต้น
3. ทำลายศัตรูพืชโดยตรง โดยบี-ไฟท์เตอร์จะซึมเข้าสู่ผิวหนังของหนอนและแมลง และไปมีผลทำลายเยื่อหุ้มเซลล์ของหนอนและแมลง ทำให้เซลล์แตก ทำให้หนอนและแมลงตายในที่สุด นอกจากนี้ บี-ไฟท์เตอร์ยังไปยับยั้งการหายใจของหนอนและแมลง โดยมีผลไปทำลายส่วนที่ทำหน้าที่หายใจและสร้างพลังงานระดับเซลล์คือ “ไมโตคอนเดรีย”
ข้อแตกต่างระหว่างบี-ไฟท์เตอร์กับสารเคมีกำจัดศัตรูพืชทั่วไป
1. บี-ไฟท์เตอร์เป็นสารสกัดธรรมชาติหรือสารอินทรีย์ที่มีความปลอดภัยสูงต่อผู้ใช้ ผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม ส่วนสารเคมีทั่วไปมีความเป็นพิษต่อผู้ใช้ ผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม
2. บี-ไฟท์เตอร์ไม่มีการตกค้างในสภาพแวดล้อม เนื่องจากเป็นสารอินทรีย์ที่ย่อยสลายได้ง่าย ส่วนสารเคมีมีการตกค้างในสภาพแวดล้อม
3. บี-ไฟท์เตอร์สามารถออกฤทธิ์ได้นานกว่าสารเคมี เช่น การฉีดพ่น 1 ครั้งสามารถออกฤทธิ์ได้นานถึง 2 สัปดาห์ ขณะที่สารเคมีออกฤทธิ์ในเวลาสั้นๆ ประมาณ 1-3 วัน ทำให้เกษตรกรต้องฉีดพ่นสารเคมีบ่อยครั้ง เช่น ทุกๆ 3-5 วัน ทำให้ต้นทุนสูง
4. บี-ไฟท์เตอร์มีคุณสมบัติหลากหลายกว่าสารเคมี กล่าวคือ บี-ไฟท์เตอร์สามารถขับไล่ ป้องกัน ยับยั้งและทำลายศัตรูพืชได้ ส่วนสารเคมีส่วนมากมีผลทำลายศัตรูพืชอย่างเดียวแต่ไม่มีผลอย่างอื่น
5. บี-ไฟท์เตอร์สามารถทำลายศัตรูพืชได้ทุกระยะของวงจรชีวิต รวมทั้งการทำลายไข่ของแมลง หรือสปอร์ของเชื้อรา ขณะที่สารเคมีส่วนมากไม่สามารถทำลายไข่และสปอร์ได้ ทำให้มีการแพร่พันธุ์ของศัตรูพืชตลอดเวลา
วีธีการใช้
ผสมบี-ไฟท์เตอร์ 40-60 ซี.ซี.กับน้ำ 20 ลิตร และสารจับใบชนิดเข้มข้น 3-5 ซี.ซี.ต่อน้ำ 20 ลิตร (หรือตามที่ระบุในฉลากของสารจับใบแต่ละชนิด) ฉีดพ่นให้ทั่วทรงพุ่มของพืชทุกๆ 5-7 วัน แก้ไขข้อมูลเมื่อ 07 Oct 21 10:08
บี-ไฟท์เตอร์ มีกลไกการทำงานดังต่อไปนี้
1. ขับไล่ศัตรูพืช เนื่องจากบี-ไฟท์เตอร์มีกลิ่นพิเศษที่สามารถขับไล่ศัตรูพืชได้
2. ป้องกันการขยายพันธุ์ของศัตรูพืช เช่น มีฤทธิ์ไปยับยั้งการแบ่งเซลล์ และยับยั้งการลอกคราบของแมลง หรือการงอกของสปอร์เชื้อรา เป็นต้น
3. ทำลายศัตรูพืชโดยตรง โดยบี-ไฟท์เตอร์จะซึมเข้าสู่ผิวหนังของหนอนและแมลง และไปมีผลทำลายเยื่อหุ้มเซลล์ของหนอนและแมลง ทำให้เซลล์แตก ทำให้หนอนและแมลงตายในที่สุด นอกจากนี้ บี-ไฟท์เตอร์ยังไปยับยั้งการหายใจของหนอนและแมลง โดยมีผลไปทำลายส่วนที่ทำหน้าที่หายใจและสร้างพลังงานระดับเซลล์คือ “ไมโตคอนเดรีย”
ข้อแตกต่างระหว่างบี-ไฟท์เตอร์กับสารเคมีกำจัดศัตรูพืชทั่วไป
1. บี-ไฟท์เตอร์เป็นสารสกัดธรรมชาติหรือสารอินทรีย์ที่มีความปลอดภัยสูงต่อผู้ใช้ ผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม ส่วนสารเคมีทั่วไปมีความเป็นพิษต่อผู้ใช้ ผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม
2. บี-ไฟท์เตอร์ไม่มีการตกค้างในสภาพแวดล้อม เนื่องจากเป็นสารอินทรีย์ที่ย่อยสลายได้ง่าย ส่วนสารเคมีมีการตกค้างในสภาพแวดล้อม
3. บี-ไฟท์เตอร์สามารถออกฤทธิ์ได้นานกว่าสารเคมี เช่น การฉีดพ่น 1 ครั้งสามารถออกฤทธิ์ได้นานถึง 2 สัปดาห์ ขณะที่สารเคมีออกฤทธิ์ในเวลาสั้นๆ ประมาณ 1-3 วัน ทำให้เกษตรกรต้องฉีดพ่นสารเคมีบ่อยครั้ง เช่น ทุกๆ 3-5 วัน ทำให้ต้นทุนสูง
4. บี-ไฟท์เตอร์มีคุณสมบัติหลากหลายกว่าสารเคมี กล่าวคือ บี-ไฟท์เตอร์สามารถขับไล่ ป้องกัน ยับยั้งและทำลายศัตรูพืชได้ ส่วนสารเคมีส่วนมากมีผลทำลายศัตรูพืชอย่างเดียวแต่ไม่มีผลอย่างอื่น
5. บี-ไฟท์เตอร์สามารถทำลายศัตรูพืชได้ทุกระยะของวงจรชีวิต รวมทั้งการทำลายไข่ของแมลง หรือสปอร์ของเชื้อรา ขณะที่สารเคมีส่วนมากไม่สามารถทำลายไข่และสปอร์ได้ ทำให้มีการแพร่พันธุ์ของศัตรูพืชตลอดเวลา
วีธีการใช้
ผสมบี-ไฟท์เตอร์ 40-60 ซี.ซี.กับน้ำ 20 ลิตร และสารจับใบชนิดเข้มข้น 3-5 ซี.ซี.ต่อน้ำ 20 ลิตร (หรือตามที่ระบุในฉลากของสารจับใบแต่ละชนิด) ฉีดพ่นให้ทั่วทรงพุ่มของพืชทุกๆ 5-7 วัน แก้ไขข้อมูลเมื่อ 07 Oct 21 10:08