ชื่อสินค้า:
ข่าลิง ข่าป่า
รหัส:
326926
ประเภท:
ราคา:
200.00 บาท
/ต้น
ติดต่อ:
คุณปุณณภา งานสำเร็จ
ที่อยู่ร้าน:
อ.เมืองนครราชสีมา จ.นครราชสีมา
ร้านนี้ยังไม่มีการแจ้งเลขทะเบียนพานิชย์
เปิดร้านมาแล้ว 14 ปี 2 เดือน
ไอดีไลน์:
โทรศัพท์:
คำเตือน: โปรดตรวจสอบความน่าเชื่อถือของร้าน เพื่อหลีกเลี่ยงการทุจริต การขอชำระเงินปลายทางเมื่อรับสินค้าถือเป็นอีกหนึ่งวิธีที่ดี
รายละเอียด
ขายข่าลิง ข่าป่า
ติดต่อสอบถามร้านวรากรสมุนไพร
โทร 0616498997,0616499298
ไอดีไลน์ herbsddd,0616498997
ข่าลิง (Alpinia conchigera Griff. )
ชื่อพฤกษศาสตร์ : Alpinia officinarum.
ชื่อสามัญ : Jewelly Ginger.
วงศ์ : ZIGIBERACEAE. (The Ginger Family.)
ชื่ออื่น ข่าเล็ก กูวะกือติง
ลักษณะ
ข่าลิงเป็นพันธุ์ไม้ป่าของเมืองไทยแต่เป็นข่าขนาดเล็ก ลำต้นขึ้นเป็นกอเกิดจากหัวหรือเหง้าจากใต้ดิน สูงประมาณ ๓๐-๕๐ เซนติเมตร ใบบางสีเขียวรีรูปหอก ปลายใบแหลม กว้างประมาณ ๓-๔ เซนติเมตร ยาวประมาณ ๘ เซนติเมตร ก้านใบยาว ทำหน้าที่เป็นกาบหุ้มต้น ออกใบสลับทิศทางในระนาบเดียวกัน ต้น หัว หรือใบ มีกลิ่นฉุนแรง และมีรสเย็นกว่าข่าชนิดอื่น
ดอกมีขนาดเล็กออกเป็นช่อตรงบริเวณส่วนยอดของลำต้น เป็นสีส้มสีเหลืองกลัก มองคล้ายละอองอัญมณีพราวระยับงดงามจับตามาก ช่อดอกหนึ่งๆ ยาวประมาณ ๑๐-๒๐ เซนติเมตรหรือยาวกว่านั้น เมื่อดอกแก่เต็มที่หรือบานใกล้จะหมดช่อแล้ว ช่อดอกของข่าลิงจะโค้งห้อยลง
ข่าลิงขยายพันธุ์ ด้วยวิธีการแยกหัวไปปลูก หัวหรือเหง้าของข่าลิงมีขนาดเล็กเท่าหัวกระชาย แต่ยาวประมาณ ๓-๔ เซนติเมตร มักขึ้นอยู่ในป่าดงดิบตามซอกหินริมลำห้วย ในที่อับชื้น แต่ดอกจะดกดื่นมองพรั่งพราวไปทั่วป่าในฤดูฝน ข่าลิงเป็นพืชสมุนไพรใช้ประโยชน์ทางแก้โรคต่างๆ ได้หลายอย่าง โดยเฉพาะหัวของข่าลิงใช้เป็นส่วนผสมในการทำแป้งเหล้าได้อีกด้วย
พบทั่วทุกภาคของประเทศไทย ในที่ชื้นของป่าดงดิบ ออกดอกและติดผลช่วงเดือนพฤษภาคม-กุมภาพันธ์
สรรพคุณข่าลิง
จากงานวิจัยของคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี พบข่าลิงมีสารต้านอนุมูลอิสระ โดยสารสกัจากเหง้าพบสารจำพวกโพลีฟีนอล เช่น แคทิชินcatechins) ฟลาโวนอยด์(flavonoids) แคโรทีนอยด์ (carotenoids) ์ และ แอนโทไซยานิน(anthocyanins) เป็นต้น
ด้านสรรพคุณทางสมุนไพรไทยมีการมาใช้เป็นสมุนไพรดังนี้
ใบ รสเผ็ดร้อนซ่า แก้เกลื้อนน้อย เกลื้อนใหญ่ ฆ่าพยาธิต่างๆ
ดอก รสเผ็ดร้อนซ่า ใช้ขับพยาธิในลำไส้
ต้น รสเผ็ดร้อนซ่า เป็นยาแก้ฝีดาษ ฝีทราย ฝีเส้น ฝีฝักบัว
เหง้า รสเผ็ดร้อนซ่า เป็นยาแก้กามโรค แก้ปวดท้อง แก้จุกเสียดแน่นเฟ้อ
ประโยชน์
ยอดอ่อน ต้นอ่อน กินกับน้ำพริกป่นใส่เครื่องแกง ต้ม ตำเมี่ยงข่า แก้ไขข้อมูลเมื่อ 13 Apr 23 07:34
ติดต่อสอบถามร้านวรากรสมุนไพร
โทร 0616498997,0616499298
ไอดีไลน์ herbsddd,0616498997
ข่าลิง (Alpinia conchigera Griff. )
ชื่อพฤกษศาสตร์ : Alpinia officinarum.
ชื่อสามัญ : Jewelly Ginger.
วงศ์ : ZIGIBERACEAE. (The Ginger Family.)
ชื่ออื่น ข่าเล็ก กูวะกือติง
ลักษณะ
ข่าลิงเป็นพันธุ์ไม้ป่าของเมืองไทยแต่เป็นข่าขนาดเล็ก ลำต้นขึ้นเป็นกอเกิดจากหัวหรือเหง้าจากใต้ดิน สูงประมาณ ๓๐-๕๐ เซนติเมตร ใบบางสีเขียวรีรูปหอก ปลายใบแหลม กว้างประมาณ ๓-๔ เซนติเมตร ยาวประมาณ ๘ เซนติเมตร ก้านใบยาว ทำหน้าที่เป็นกาบหุ้มต้น ออกใบสลับทิศทางในระนาบเดียวกัน ต้น หัว หรือใบ มีกลิ่นฉุนแรง และมีรสเย็นกว่าข่าชนิดอื่น
ดอกมีขนาดเล็กออกเป็นช่อตรงบริเวณส่วนยอดของลำต้น เป็นสีส้มสีเหลืองกลัก มองคล้ายละอองอัญมณีพราวระยับงดงามจับตามาก ช่อดอกหนึ่งๆ ยาวประมาณ ๑๐-๒๐ เซนติเมตรหรือยาวกว่านั้น เมื่อดอกแก่เต็มที่หรือบานใกล้จะหมดช่อแล้ว ช่อดอกของข่าลิงจะโค้งห้อยลง
ข่าลิงขยายพันธุ์ ด้วยวิธีการแยกหัวไปปลูก หัวหรือเหง้าของข่าลิงมีขนาดเล็กเท่าหัวกระชาย แต่ยาวประมาณ ๓-๔ เซนติเมตร มักขึ้นอยู่ในป่าดงดิบตามซอกหินริมลำห้วย ในที่อับชื้น แต่ดอกจะดกดื่นมองพรั่งพราวไปทั่วป่าในฤดูฝน ข่าลิงเป็นพืชสมุนไพรใช้ประโยชน์ทางแก้โรคต่างๆ ได้หลายอย่าง โดยเฉพาะหัวของข่าลิงใช้เป็นส่วนผสมในการทำแป้งเหล้าได้อีกด้วย
พบทั่วทุกภาคของประเทศไทย ในที่ชื้นของป่าดงดิบ ออกดอกและติดผลช่วงเดือนพฤษภาคม-กุมภาพันธ์
สรรพคุณข่าลิง
จากงานวิจัยของคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี พบข่าลิงมีสารต้านอนุมูลอิสระ โดยสารสกัจากเหง้าพบสารจำพวกโพลีฟีนอล เช่น แคทิชินcatechins) ฟลาโวนอยด์(flavonoids) แคโรทีนอยด์ (carotenoids) ์ และ แอนโทไซยานิน(anthocyanins) เป็นต้น
ด้านสรรพคุณทางสมุนไพรไทยมีการมาใช้เป็นสมุนไพรดังนี้
ใบ รสเผ็ดร้อนซ่า แก้เกลื้อนน้อย เกลื้อนใหญ่ ฆ่าพยาธิต่างๆ
ดอก รสเผ็ดร้อนซ่า ใช้ขับพยาธิในลำไส้
ต้น รสเผ็ดร้อนซ่า เป็นยาแก้ฝีดาษ ฝีทราย ฝีเส้น ฝีฝักบัว
เหง้า รสเผ็ดร้อนซ่า เป็นยาแก้กามโรค แก้ปวดท้อง แก้จุกเสียดแน่นเฟ้อ
ประโยชน์
ยอดอ่อน ต้นอ่อน กินกับน้ำพริกป่นใส่เครื่องแกง ต้ม ตำเมี่ยงข่า แก้ไขข้อมูลเมื่อ 13 Apr 23 07:34