ชื่อสินค้า:
สารสกัดสะเดาเข้มข้นชนิดน้ำ ขนาด 100 ซีซี.
รหัส:
317029
ประเภท:
ราคา:
159.00 บาท
ติดต่อ:
คุณกรกฎ ภูหวดน้อย
ที่อยู่ร้าน:
อ.โนนสัง จ.หนองบัวลำภู
ร้านนี้ยังไม่มีการแจ้งเลขทะเบียนพานิชย์
เปิดร้านมาแล้ว 6 ปี 9 เดือน
โทรศัพท์:
คำเตือน: โปรดตรวจสอบความน่าเชื่อถือของร้าน เพื่อหลีกเลี่ยงการทุจริต การขอชำระเงินปลายทางเมื่อรับสินค้าถือเป็นอีกหนึ่งวิธีที่ดี
รายละเอียด
สารสกัดจากสะเดาที่ได้รับการขึ้นทะเบียนจากกรมวิชาการเกษตรเป็นรายแรกของประเทศไทยใช้ป้องกันและกำจัดหนอนแมลงศัตรูพืชต่างๆ ได้ดี เช่น หนอนใยผัก หนอนชอนใบ หนอนกระทู้ หนอนหนังเหนียว หนอนหลอดหอม หนอนกัดกินใบพืช หนอนเจาะยอด หนอนม้วนใบ หนอนแก้วส้ม เพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ ไรแดง
คุณสมบัติของสะเดาไทย หมายเลข 111
1. เป็นสารไล่แมลง เมื่อพ่นสารสะเดาแล้วจะทำให้แมลงไม่ค่อยเข้ามาในบริเวณแปลงพืช
2. เป็นสารยับยั้งการวางไข่ของแมลง แมลงจะไปวางไข่นอกแปลงหรือที่พืชชนิดอื่นที่ไม่ได้ฉีดพ่นสารสะเดา
3. เป็นสารยับยั้งการกิน ก่อนจะพ่นสารสะเดาควรผสมสารจับใบด้วย แล้วพ่นให้ทั่วต้นพืชโดยเฉพาะส่วนที่แมลงจะเข้าทำลาย การพ่นเพื่อป้องกันกำจัดเพลี้ยต่างๆ เช่น เพล้ยไฟ เพลี้ยหอย เพลี้ยแป้ง ควรพ่นให้พืชเปียกชุ่ม โดยเฉพาะตรงที่เพลี้ยเข้าทำลายต้องเน้นมากเป็นพิเศษ เมื่อแมลงกินพืชที่มีสารสะเดาติดอยู่เพียงเล็กน้อย แมลงจะหยุดการกิน ยังไม่ตายแต่จะเคลื่อนไหวช้าลง
4. ทำให้ตัวอ่อนของแมลงหรือหนอนเมื่อกินสารสะเดาที่ติดกับพืชเพียงเล็กน้อยหยุดการกิน แล้วจะลอกคราบไม่ได้ และตายในที่สุด
5. ทำให้แมลงเพศเมียสร้างไข่ได้น้อยลง และไข่ที่วางไปแล้วจะไม่ค่อยฟักเป็นตัว ทำให้แมลงศัตรูพืชลดน้อยลง
6. ไม่ทำลายแมลงที่มีประโยชน์ เช่น แมลงห้ำ แมลงเบียน ซึ่งแมลงเหล่านี้จะช่วยกำจัดศัตรูพืชให้เราอีกทางหนึ่งด้วย อีกทั้งไม่ทำลายแมลงผสมเกสร
7. ช่วยกำจัดแมลงดื้อยา และไม่ทำให้แมลงดื้อยา
วิธีใช้ ใช้ สะเดาไทย หมายเลข 111 อัตรา 25 - 50 ซีซี. ผสมน้ำ 20 ลิตร( ประมาณ 2.5 - 5 ช้อนแกง ต่อน้ำ 1 ปีบ ) พ่นให้ทั่วต้นพืชในระยะเริ่มแตกใบอ่อน ทั้งบนใบและใต้ใบ โดยเฉพาะยอด ติดต่อกัน 2-3 ครั้ง โดยพ่นห่างกัน 7 วันต่อครั้ง
วิธีการใช้สารสกัดสะเดาให้มีประสิทธิภาพ
1. ต้องใช้ในลักษณะของการป้องกัน คือฉีดพ่นสารสกัดสะเดาในขณะที่พืชผักยังเล็กอยู่ หรือช่วงแตกใบอ่อน ผลอ่อน หรือก่อนการเข้าทำลายของศัตรูพืช
2. น้ำที่จะใช้ผสมสารสะเดาไม่ควรมีสภาพเป็นด่าง หรือมีค่า pH ไม่เกิน 7 ถ้าเกินหรือมีสภาพเป็นด่าง ให้แก้ด้วยการเติมกรดน้ำส้ม เช่น น้ำส้มสายชู
3. ก่อนพ่นสารสะเดาควรผสมสารจับใบในน้ำที่ผสมสะเดาแล้วด้วย แล้วฉีดพ่นให้ทั่วต้นพืช หากเป็นการเริ่มใช้สารสะเดาระยะแรก ควรพ่นติดต่อกัน 3 - 4 ครั้ง โดยห่างกันครั้งละ 5 - 7 วัน
4. สามารถใช้ร่วมกับสารเคมีสังเคราะห์ได้ แก้ไขข้อมูลเมื่อ 19 Aug 19 09:21
คุณสมบัติของสะเดาไทย หมายเลข 111
1. เป็นสารไล่แมลง เมื่อพ่นสารสะเดาแล้วจะทำให้แมลงไม่ค่อยเข้ามาในบริเวณแปลงพืช
2. เป็นสารยับยั้งการวางไข่ของแมลง แมลงจะไปวางไข่นอกแปลงหรือที่พืชชนิดอื่นที่ไม่ได้ฉีดพ่นสารสะเดา
3. เป็นสารยับยั้งการกิน ก่อนจะพ่นสารสะเดาควรผสมสารจับใบด้วย แล้วพ่นให้ทั่วต้นพืชโดยเฉพาะส่วนที่แมลงจะเข้าทำลาย การพ่นเพื่อป้องกันกำจัดเพลี้ยต่างๆ เช่น เพล้ยไฟ เพลี้ยหอย เพลี้ยแป้ง ควรพ่นให้พืชเปียกชุ่ม โดยเฉพาะตรงที่เพลี้ยเข้าทำลายต้องเน้นมากเป็นพิเศษ เมื่อแมลงกินพืชที่มีสารสะเดาติดอยู่เพียงเล็กน้อย แมลงจะหยุดการกิน ยังไม่ตายแต่จะเคลื่อนไหวช้าลง
4. ทำให้ตัวอ่อนของแมลงหรือหนอนเมื่อกินสารสะเดาที่ติดกับพืชเพียงเล็กน้อยหยุดการกิน แล้วจะลอกคราบไม่ได้ และตายในที่สุด
5. ทำให้แมลงเพศเมียสร้างไข่ได้น้อยลง และไข่ที่วางไปแล้วจะไม่ค่อยฟักเป็นตัว ทำให้แมลงศัตรูพืชลดน้อยลง
6. ไม่ทำลายแมลงที่มีประโยชน์ เช่น แมลงห้ำ แมลงเบียน ซึ่งแมลงเหล่านี้จะช่วยกำจัดศัตรูพืชให้เราอีกทางหนึ่งด้วย อีกทั้งไม่ทำลายแมลงผสมเกสร
7. ช่วยกำจัดแมลงดื้อยา และไม่ทำให้แมลงดื้อยา
วิธีใช้ ใช้ สะเดาไทย หมายเลข 111 อัตรา 25 - 50 ซีซี. ผสมน้ำ 20 ลิตร( ประมาณ 2.5 - 5 ช้อนแกง ต่อน้ำ 1 ปีบ ) พ่นให้ทั่วต้นพืชในระยะเริ่มแตกใบอ่อน ทั้งบนใบและใต้ใบ โดยเฉพาะยอด ติดต่อกัน 2-3 ครั้ง โดยพ่นห่างกัน 7 วันต่อครั้ง
วิธีการใช้สารสกัดสะเดาให้มีประสิทธิภาพ
1. ต้องใช้ในลักษณะของการป้องกัน คือฉีดพ่นสารสกัดสะเดาในขณะที่พืชผักยังเล็กอยู่ หรือช่วงแตกใบอ่อน ผลอ่อน หรือก่อนการเข้าทำลายของศัตรูพืช
2. น้ำที่จะใช้ผสมสารสะเดาไม่ควรมีสภาพเป็นด่าง หรือมีค่า pH ไม่เกิน 7 ถ้าเกินหรือมีสภาพเป็นด่าง ให้แก้ด้วยการเติมกรดน้ำส้ม เช่น น้ำส้มสายชู
3. ก่อนพ่นสารสะเดาควรผสมสารจับใบในน้ำที่ผสมสะเดาแล้วด้วย แล้วฉีดพ่นให้ทั่วต้นพืช หากเป็นการเริ่มใช้สารสะเดาระยะแรก ควรพ่นติดต่อกัน 3 - 4 ครั้ง โดยห่างกันครั้งละ 5 - 7 วัน
4. สามารถใช้ร่วมกับสารเคมีสังเคราะห์ได้ แก้ไขข้อมูลเมื่อ 19 Aug 19 09:21
คำสำคัญ:
ยากำจัดเพลี้ย
สารกำจัดแมลง