ชื่อสินค้า:
หมากค้อ
รหัส:
315152
ประเภท:
ราคา:
1.00 บาท
ติดต่อ:
คุณอังศรา ไพฑูรย์
ที่อยู่ร้าน:
อ.เมืองระยอง จ.ระยอง
ร้านนี้ยังไม่มีการแจ้งเลขทะเบียนพานิชย์
เปิดร้านมาแล้ว 7 ปี 9 เดือน
ไอดีไลน์:
โทรศัพท์:
คำเตือน: โปรดตรวจสอบความน่าเชื่อถือของร้าน เพื่อหลีกเลี่ยงการทุจริต การขอชำระเงินปลายทางเมื่อรับสินค้าถือเป็นอีกหนึ่งวิธีที่ดี
รายละเอียด
ขายเมล็ดพร้อมเพาะเมล็ดละ1บาทต้นกล้าละ50-150ตามขนาดความสูงคะส่งเคอรี่เก็บปลายทางสนใจโทร0876069955ไอดีไลน์aungsara09.สรรพคุณของตะคร้อ
ราก เปลือกราก หรือทั้งห้าส่วนเป็นยาแก้กษัย (ราก, เปลือกราก)[8]
ใช้ใบเป็นยาแก้ไข้ โดยใบแก่นำมาขยี้กับน้ำแล้วนำมาเช็ดตัว (ใบแก่)[9]
เนื้อผลเป็นยาระบาย รับประทานมากไปจะทำให้ท้องเสียได้ (เนื้อผล)[9]
เปลือกต้นเป็นยาสมานท้อง (เปลือกต้น)[1],[2]
ช่วยแก้อาการท้องร่วง (เปลือกต้น)[1],[2],[5] บ้างว่าใช้แก้บิด มูกเลือดได้ด้วย โดยนำเปลือกต้นมาตำกิน (เปลือกต้น)[9]
เปลือกต้นตะคร้อนำมาแช่กับน้ำดื่มแก้อาการท้องเสีย โดยใช้ร่วมกับเปลือกต้นมะกอก เปลือกต้นเป๋ยเบาะ เปลือกต้นตะคร้ำ (เปลือกต้น)[4]
ช่วยขับปัสสาวะ (ทั้งห้า)[8]
ทั้งห้าส่วนเป็นยาแก้ริดสีดวงภายนอกและภายใน (ทั้งห้า)[8]
น้ำต้มจากเปลือกต้นตะคร้อช่วยรักษาอาการปวดประจำเดือนได้ (Mahaptma and Sahoo, 2008) (เปลือกต้น)[7]
ใบใช้ตำพอกรักษาฝี (ใบ)[8]
ทั้งห้าส่วนเป็นยาแก้ฝีในกระดูก ปอด กระเพาะ ลำไส้ ตับ และม้าม (ทั้งห้า)[8]
ใบแก่นำมาเคี้ยวให้ละเอียด ใช้ใส่แผลสดเพื่อปิดปากแผลไว้ จะช่วยห้ามเลือดได้ (ใบ)[9]
ช่วยรักษาบาดแผลสดจากของมีคม ด้วยการนำเปลือกต้นบริเวณลำต้นที่วัดความสูงตามบาดแผลที่เกิด ขูดเอาเปลือกตะคร้อ นำมาผสมกับยาดำ (เส้นผม, ขนเพชร) แล้วนำมาพอกบริเวณบาดแผล (เปลือกต้น)[9]
รากเป็นยาถอนพิษ เช่น อยากหยุดเหล้า ก็ให้นำน้ำต้มกับรากมาผสมกับเหล้าและใช้ดื่มตอนเมาจะทำให้ไม่อยากกินอีก ปริมาณการใช้เท่ากับราก 1 กำมือผู้กิน เหล้า 1 ก๊ง (ราก)[9]
ใบใช้ปรุงเป็นยาถ่ายพิษฝี ถ่ายเส้น ถ่ายกษัย (ใบ)[8]
รากหรือเปลือกรากช่วยทำให้เส้นเอ็นหย่อน แก้เส้นเอ็น ช่วยถ่ายฝีภายใน (ราก, เปลือก)[8]
เปลือกนำมาต้มกับน้ำดื่มเป็นยาแก้ฝีหนอง (ส่วนแก่นตะคร้อก็ใช้ได้เช่นกัน) (เปลือก)[11]
น้ำมันจากเมล็ดสามารถนำมาใช้นวดแก้อาการปวดไขข้อได้ (Palanuvej and Vipunngeun, 2008) (น้ำมันจากเมล็ด)[7]
น้ำมันจากเมล็ดตะคร้อ ช่วยแก้ผมร่วง (น้ำมันจากเมล็ด)[1],[2]
น้ำมันสกัดจากเมล็ดสามารถนำมาใช้รักษาอาการคัน สิว แผลไหม้ได้ (Palanuvej and Vipunngeun, 2008) (น้ำมันจากเมล็ด)[7]
ข้อมูลทางเภสัชวิทยาของตะคร้อ
มีการศึกษาฤทธิ์ของสารสกัดจากเปลือกและลำต้นของต้นตะคร้อพบว่า สามารถช่วยลดการเกิดอนุมูลอิสระที่เป็นสาเหตุของการตายของเซลล์มะเร็งได้ (Pettit et al.,2000, Thind et al., 2010) และมีฤทธิ์ในต้านการเจริญเติบโตของเชื้อราและแบคทีเรีย (Ghosh et al., 2011)[7]
ประโยชน์ของตะคร้อ
ผลสุกหรือเนื้อหุ้มเมล็ดใสสีเหลืองและฉ่ำน้ำ มีรสเปรี้ยว ใช้รับประทานเป็นผลไม้ได้ โดยจะนิยมรับประทานกันมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และเนื่องจากเนื้อผลมีฤทธิ์เป็นยาระบาย การรับประทานมากเกินไปอาจทำให้ท้องเสียได้[1],[2],[4],[6] หรือนำผลมารับประทานจิ้มกับเกลือหรือนำมาซั่วกิน ส่วนผลที่หวานมากก็นำมากินกับข้าวได้ ส่วนเปลือกผลส่วนก้นสามารถนำมาตำใส่เปลือก ผสมกับเนื้อ หรือนำมาตำเหมือนตำส้มตำ[9] นอกจากนี้ยังสามารถนำผลมาทำเป็นอาหารหวานได้อีกหลายชนิด เช่น ตะคร้อแก้ว น้ำตะคร้อ ลูกกวาดตะคร้อ แยม ไวน์ เป็นต้น[10]
เปลือกต้นนำมาขูดเอาแต่เนื้อเปลือกตำใส่มดแดง (เปลือกนางกินกับตำเหมี่ยงโค่น กินกับใบส้มกบ ส้มลม ตำใส่เครื่องข่าตะไคร้ พริก)[9]
ใบอ่อนตะคร้อสามารถนำมาใช้รับประทานเป็นผักแกล้มกับอาหารอีสานได้[3],[9]
เมล็ดใช้รับประทานได้แต่อย่าเกิน 3 เม็ด เพราะจะทำให้เมา หรือที่นิยมก็คือนำมาสกัดทำเป็นน้ำมันสำหรับเป็นยาสมุนไพร หรือใช้เป็นน้ำมันสำหรับจุดประทีป[9]
เปลือกนอกของต้นนำมาขูดผสมกับเกลือ ใช้เป็นยารักษาสัตว์ (ไม่ได้ระบุว่าใช้รักษาอะไร)[9]
เปลือกต้นใช้สกัดทำเป็นสีย้อมได้ โดยสีที่ได้คือสีน้ำตาล ส่วนเปลือกตะคร้อผสมกับเปลือกก่อจะให้สีกากี[3],[6]
เนื้อไม้ตะคร้อสามารถนำมาใช้ในงานอุตสาหกรรมไม้ทั่วไปได้ ทำเฟอร์นิเจอร์ ใช้ทำไม้เสาเรือนบ้าน อาคารบ้านเรือน ด้ามเครื่องมือ ตะลุมพุก ลูกหีบน้ำมัน ลูกหีบอ้อย ทำเขียง ครก สาก สากตำข้าว กระเดื่อง ฟันสีข้าว ดุมล้อเกวียน ส่วนประกอบของล้อเกวียน ฯลฯ (แต่ต้องเป็นต้นมีอายุมากหน่อย) หรือนำมาใช้ทำเป็นเชื้อเพลิง ทำฟืนและถ่านชนิดดี[3],[4],[5],[6],[9]
ผลสุกมีรสเปรี้ยวอมหวาน สามารถนำมาใช้ทำเป็นผลิตภัณฑ์สำหรับล้างจาน ล้างห้องน้ำได้[10]
ต้นตะคร้อใช้เป็นต้นไม้เพาะเลี้ยงครั่งได้ดี ซึ่งในประเทศอินเดียมีการใช้มานานแล้ว[6]
ต้นตะคร้อสามารถนำมาใช้ปลูกเพื่อเป็นไม้ให้ร่มเงาได้ดี เพราะพุ่มใบมีลักษณะหนาทึบ เหมาะสำหรับการปลูกในพื้นที่กว้าง อีกทั้งยังช่วยดึงดูดนกได้อีกด้วย[5]
แก้ไขข้อมูลเมื่อ 23 Jul 19 09:41
ราก เปลือกราก หรือทั้งห้าส่วนเป็นยาแก้กษัย (ราก, เปลือกราก)[8]
ใช้ใบเป็นยาแก้ไข้ โดยใบแก่นำมาขยี้กับน้ำแล้วนำมาเช็ดตัว (ใบแก่)[9]
เนื้อผลเป็นยาระบาย รับประทานมากไปจะทำให้ท้องเสียได้ (เนื้อผล)[9]
เปลือกต้นเป็นยาสมานท้อง (เปลือกต้น)[1],[2]
ช่วยแก้อาการท้องร่วง (เปลือกต้น)[1],[2],[5] บ้างว่าใช้แก้บิด มูกเลือดได้ด้วย โดยนำเปลือกต้นมาตำกิน (เปลือกต้น)[9]
เปลือกต้นตะคร้อนำมาแช่กับน้ำดื่มแก้อาการท้องเสีย โดยใช้ร่วมกับเปลือกต้นมะกอก เปลือกต้นเป๋ยเบาะ เปลือกต้นตะคร้ำ (เปลือกต้น)[4]
ช่วยขับปัสสาวะ (ทั้งห้า)[8]
ทั้งห้าส่วนเป็นยาแก้ริดสีดวงภายนอกและภายใน (ทั้งห้า)[8]
น้ำต้มจากเปลือกต้นตะคร้อช่วยรักษาอาการปวดประจำเดือนได้ (Mahaptma and Sahoo, 2008) (เปลือกต้น)[7]
ใบใช้ตำพอกรักษาฝี (ใบ)[8]
ทั้งห้าส่วนเป็นยาแก้ฝีในกระดูก ปอด กระเพาะ ลำไส้ ตับ และม้าม (ทั้งห้า)[8]
ใบแก่นำมาเคี้ยวให้ละเอียด ใช้ใส่แผลสดเพื่อปิดปากแผลไว้ จะช่วยห้ามเลือดได้ (ใบ)[9]
ช่วยรักษาบาดแผลสดจากของมีคม ด้วยการนำเปลือกต้นบริเวณลำต้นที่วัดความสูงตามบาดแผลที่เกิด ขูดเอาเปลือกตะคร้อ นำมาผสมกับยาดำ (เส้นผม, ขนเพชร) แล้วนำมาพอกบริเวณบาดแผล (เปลือกต้น)[9]
รากเป็นยาถอนพิษ เช่น อยากหยุดเหล้า ก็ให้นำน้ำต้มกับรากมาผสมกับเหล้าและใช้ดื่มตอนเมาจะทำให้ไม่อยากกินอีก ปริมาณการใช้เท่ากับราก 1 กำมือผู้กิน เหล้า 1 ก๊ง (ราก)[9]
ใบใช้ปรุงเป็นยาถ่ายพิษฝี ถ่ายเส้น ถ่ายกษัย (ใบ)[8]
รากหรือเปลือกรากช่วยทำให้เส้นเอ็นหย่อน แก้เส้นเอ็น ช่วยถ่ายฝีภายใน (ราก, เปลือก)[8]
เปลือกนำมาต้มกับน้ำดื่มเป็นยาแก้ฝีหนอง (ส่วนแก่นตะคร้อก็ใช้ได้เช่นกัน) (เปลือก)[11]
น้ำมันจากเมล็ดสามารถนำมาใช้นวดแก้อาการปวดไขข้อได้ (Palanuvej and Vipunngeun, 2008) (น้ำมันจากเมล็ด)[7]
น้ำมันจากเมล็ดตะคร้อ ช่วยแก้ผมร่วง (น้ำมันจากเมล็ด)[1],[2]
น้ำมันสกัดจากเมล็ดสามารถนำมาใช้รักษาอาการคัน สิว แผลไหม้ได้ (Palanuvej and Vipunngeun, 2008) (น้ำมันจากเมล็ด)[7]
ข้อมูลทางเภสัชวิทยาของตะคร้อ
มีการศึกษาฤทธิ์ของสารสกัดจากเปลือกและลำต้นของต้นตะคร้อพบว่า สามารถช่วยลดการเกิดอนุมูลอิสระที่เป็นสาเหตุของการตายของเซลล์มะเร็งได้ (Pettit et al.,2000, Thind et al., 2010) และมีฤทธิ์ในต้านการเจริญเติบโตของเชื้อราและแบคทีเรีย (Ghosh et al., 2011)[7]
ประโยชน์ของตะคร้อ
ผลสุกหรือเนื้อหุ้มเมล็ดใสสีเหลืองและฉ่ำน้ำ มีรสเปรี้ยว ใช้รับประทานเป็นผลไม้ได้ โดยจะนิยมรับประทานกันมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และเนื่องจากเนื้อผลมีฤทธิ์เป็นยาระบาย การรับประทานมากเกินไปอาจทำให้ท้องเสียได้[1],[2],[4],[6] หรือนำผลมารับประทานจิ้มกับเกลือหรือนำมาซั่วกิน ส่วนผลที่หวานมากก็นำมากินกับข้าวได้ ส่วนเปลือกผลส่วนก้นสามารถนำมาตำใส่เปลือก ผสมกับเนื้อ หรือนำมาตำเหมือนตำส้มตำ[9] นอกจากนี้ยังสามารถนำผลมาทำเป็นอาหารหวานได้อีกหลายชนิด เช่น ตะคร้อแก้ว น้ำตะคร้อ ลูกกวาดตะคร้อ แยม ไวน์ เป็นต้น[10]
เปลือกต้นนำมาขูดเอาแต่เนื้อเปลือกตำใส่มดแดง (เปลือกนางกินกับตำเหมี่ยงโค่น กินกับใบส้มกบ ส้มลม ตำใส่เครื่องข่าตะไคร้ พริก)[9]
ใบอ่อนตะคร้อสามารถนำมาใช้รับประทานเป็นผักแกล้มกับอาหารอีสานได้[3],[9]
เมล็ดใช้รับประทานได้แต่อย่าเกิน 3 เม็ด เพราะจะทำให้เมา หรือที่นิยมก็คือนำมาสกัดทำเป็นน้ำมันสำหรับเป็นยาสมุนไพร หรือใช้เป็นน้ำมันสำหรับจุดประทีป[9]
เปลือกนอกของต้นนำมาขูดผสมกับเกลือ ใช้เป็นยารักษาสัตว์ (ไม่ได้ระบุว่าใช้รักษาอะไร)[9]
เปลือกต้นใช้สกัดทำเป็นสีย้อมได้ โดยสีที่ได้คือสีน้ำตาล ส่วนเปลือกตะคร้อผสมกับเปลือกก่อจะให้สีกากี[3],[6]
เนื้อไม้ตะคร้อสามารถนำมาใช้ในงานอุตสาหกรรมไม้ทั่วไปได้ ทำเฟอร์นิเจอร์ ใช้ทำไม้เสาเรือนบ้าน อาคารบ้านเรือน ด้ามเครื่องมือ ตะลุมพุก ลูกหีบน้ำมัน ลูกหีบอ้อย ทำเขียง ครก สาก สากตำข้าว กระเดื่อง ฟันสีข้าว ดุมล้อเกวียน ส่วนประกอบของล้อเกวียน ฯลฯ (แต่ต้องเป็นต้นมีอายุมากหน่อย) หรือนำมาใช้ทำเป็นเชื้อเพลิง ทำฟืนและถ่านชนิดดี[3],[4],[5],[6],[9]
ผลสุกมีรสเปรี้ยวอมหวาน สามารถนำมาใช้ทำเป็นผลิตภัณฑ์สำหรับล้างจาน ล้างห้องน้ำได้[10]
ต้นตะคร้อใช้เป็นต้นไม้เพาะเลี้ยงครั่งได้ดี ซึ่งในประเทศอินเดียมีการใช้มานานแล้ว[6]
ต้นตะคร้อสามารถนำมาใช้ปลูกเพื่อเป็นไม้ให้ร่มเงาได้ดี เพราะพุ่มใบมีลักษณะหนาทึบ เหมาะสำหรับการปลูกในพื้นที่กว้าง อีกทั้งยังช่วยดึงดูดนกได้อีกด้วย[5]
แก้ไขข้อมูลเมื่อ 23 Jul 19 09:41
คำสำคัญ:
เมล็ดพันธุ์ไม้ผล-ไม้ยืนต้น