ชื่อสินค้า:
ต้นผักติ้ว ราคาต้นละ 75฿
รหัส:
308030
ราคา:
75.00 บาท
/ต้น?
ติดต่อ:
คุณสายทอง พิลัยพงษ์
ที่อยู่ร้าน:
อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ
ร้านนี้แจ้งเลขทะเบียนพานิชย์แล้ว
เปิดร้านมาแล้ว 6 ปี 3 เดือน
ไอดีไลน์:
โทรศัพท์:
คำเตือน: โปรดตรวจสอบความน่าเชื่อถือของร้าน เพื่อหลีกเลี่ยงการทุจริต การขอชำระเงินปลายทางเมื่อรับสินค้าถือเป็นอีกหนึ่งวิธีที่ดี
รายละเอียด
ผักติ้ว กับ 5 คุณประโยชน์และการรักษามะเร็ง (emaginfo)
ผักสีสวย แดง ๆ ส้ม ๆ เขียวอ่อน ใครจะคิดว่าจะมีคุณประโยชน์เหลือหลาย มากกว่าแค่นำมาทานเป็นผักเครื่องเคียงอาหาร อย่างผักใบสวยชนิดหนึ่ง ที่คนใต้นิยมเอามาทานกับขนมจีน ซึ่งหรอยจังหู้มาก ๆ ที่เรียกว่า "ผักติ้ว" นี้ก็สารพัดประโยชน์ แถมยังมีสรรพคุณพิเศษบางอย่างอีกต่างหาก
โรคภัยไข้เจ็บเดี๋ยวนี้มีมากขึ้นแต่ก่อน แล้วยิ่งเป็นโรคร้ายด้วยแล้ว การรักษาในบางทีก็ยากขึ้น เพราะเชื้อโรคเดี๋ยวนี้ร้ายแรงขึ้นเยอะ แต่เชื่อไหมว่าพืชผักพื้นบ้านที่ชื่อว่า ผักติ้ว นี้จะช่วยรักษาโรคร้ายบางโรคได้ด้วย
ในผักติ้วหนัก 100 กรัม จะมีเส้นใยอาหารอยู่ 1.4 กรัมช่วยป้องกันอาการท้องผูก มีแคลเซียม 67 มิลลิกรัม ลดความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะกระดูกพรุน มีไนอะซิน 3.1 มิลลิกรัม มีบทบาทต่อกระบวนการเผาผลาญสารอาหารและการทำงานของระบบประสาท วิตามินซี 56 มิลลิกรัม ช่วยในการดูดซึมธาตุเหล็กและช่วยให้แผลหายเร็ว ผักติ้วยังมีเบตาแคโรทีนและวิตามินเออยู่สูง ช่วยต้านอนุมูลอิสระที่เป็นอันตรายต่อร่างกายและบำรุงสายตา
2. ราก ผสมกับหัวแห้วหมู และรากปลาไหลเผือกต้มน้ำดื่มวันละ 3 ครั้ง ก่อนหรือหลังอาหารก็ได้ เป็นยาขับปัสสาวะ แก้ปัสสาวะขัด ประโยชน์ทางอาหาร ส่วนสรรพคุณทางยาไทยนั้น ใช้รากผสมกับหัวแห้วหมูและรากปลาไหลเผือก ต้มเอาเฉพาะน้ำ ดื่มวันละ 3 มื้อ เพื่อขับปัสสาวะและแก้ปัสสาวะขัด รากและใบต้มน้ำดื่มแก้ปวดท้อง เปลือกต้นและใบตำผสมน้ำมันมะพร้าวทาแก้โรคผิวหนัง แม้แต่น้ำยางจากเปลือกต้นก็ใช้ทาแก้คันได้
3. ยอดอ่อน นิยมรับประทานเป็นผักเคียงกับ ลาบ ก้อย น้ำตก แหนมเนืองเวียดนาม ตามที่กล่าวข้างต้น ส่วนภาคใต้รับประทานกับขนมจีนใต้รสชาติ อร่อยมาก
4. ดอกผักติ้ว มีสีขาวหรือสีชมพูอ่อน ส่งกลิ่นหอมอ่อน ๆ นำมากินเป็นผักได้เช่นเดียวกับยอดและใบอ่อน ไม้จากต้นผักติ้วก็ยังมีประโยชน์ไม่น้อย เพราะเนื้อไม้แข็ง จึงใช้ทำเสา ด้ามจอบเสียม หรือเผามาทำฟืน
5. สารสกัดจากผักติ้ว ในงานวิจัยของนิสิตโครงการปริญญาเอก กาญจนาภิเษก (คปก.) คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ระบุว่า สารสกัดจาก "ผักติ้ว" สามารถนำไปใช้ในการยับยั้งกลิ่นหืนในอาหารได้ โดยเอายอดอ่อนของ "ผักติ้ว" ที่คนอีสานนิยมรับประทานเป็นผักเคียงกับลาบ ก้อย และแหนมเนืองเวียดนาม ไปเข้ากระบวนการสกัดผสมกับ "เอทานอล" และขั้นตอนอีกหลายขั้นตอนจะได้สารจาก "ผักติ้ว" ชื่อ "คอลโรจินิกแอซิก" นำไปใช้เป็นสารสกัดธรรมชาติป้องกันกลิ่นหืนของอาหารดีมาก
#ผักติ้ว
#ผักติ้ว
#ติ้ว แก้ไขข้อมูลเมื่อ 15 Oct 20 01:13
ผักสีสวย แดง ๆ ส้ม ๆ เขียวอ่อน ใครจะคิดว่าจะมีคุณประโยชน์เหลือหลาย มากกว่าแค่นำมาทานเป็นผักเครื่องเคียงอาหาร อย่างผักใบสวยชนิดหนึ่ง ที่คนใต้นิยมเอามาทานกับขนมจีน ซึ่งหรอยจังหู้มาก ๆ ที่เรียกว่า "ผักติ้ว" นี้ก็สารพัดประโยชน์ แถมยังมีสรรพคุณพิเศษบางอย่างอีกต่างหาก
โรคภัยไข้เจ็บเดี๋ยวนี้มีมากขึ้นแต่ก่อน แล้วยิ่งเป็นโรคร้ายด้วยแล้ว การรักษาในบางทีก็ยากขึ้น เพราะเชื้อโรคเดี๋ยวนี้ร้ายแรงขึ้นเยอะ แต่เชื่อไหมว่าพืชผักพื้นบ้านที่ชื่อว่า ผักติ้ว นี้จะช่วยรักษาโรคร้ายบางโรคได้ด้วย
ในผักติ้วหนัก 100 กรัม จะมีเส้นใยอาหารอยู่ 1.4 กรัมช่วยป้องกันอาการท้องผูก มีแคลเซียม 67 มิลลิกรัม ลดความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะกระดูกพรุน มีไนอะซิน 3.1 มิลลิกรัม มีบทบาทต่อกระบวนการเผาผลาญสารอาหารและการทำงานของระบบประสาท วิตามินซี 56 มิลลิกรัม ช่วยในการดูดซึมธาตุเหล็กและช่วยให้แผลหายเร็ว ผักติ้วยังมีเบตาแคโรทีนและวิตามินเออยู่สูง ช่วยต้านอนุมูลอิสระที่เป็นอันตรายต่อร่างกายและบำรุงสายตา
2. ราก ผสมกับหัวแห้วหมู และรากปลาไหลเผือกต้มน้ำดื่มวันละ 3 ครั้ง ก่อนหรือหลังอาหารก็ได้ เป็นยาขับปัสสาวะ แก้ปัสสาวะขัด ประโยชน์ทางอาหาร ส่วนสรรพคุณทางยาไทยนั้น ใช้รากผสมกับหัวแห้วหมูและรากปลาไหลเผือก ต้มเอาเฉพาะน้ำ ดื่มวันละ 3 มื้อ เพื่อขับปัสสาวะและแก้ปัสสาวะขัด รากและใบต้มน้ำดื่มแก้ปวดท้อง เปลือกต้นและใบตำผสมน้ำมันมะพร้าวทาแก้โรคผิวหนัง แม้แต่น้ำยางจากเปลือกต้นก็ใช้ทาแก้คันได้
3. ยอดอ่อน นิยมรับประทานเป็นผักเคียงกับ ลาบ ก้อย น้ำตก แหนมเนืองเวียดนาม ตามที่กล่าวข้างต้น ส่วนภาคใต้รับประทานกับขนมจีนใต้รสชาติ อร่อยมาก
4. ดอกผักติ้ว มีสีขาวหรือสีชมพูอ่อน ส่งกลิ่นหอมอ่อน ๆ นำมากินเป็นผักได้เช่นเดียวกับยอดและใบอ่อน ไม้จากต้นผักติ้วก็ยังมีประโยชน์ไม่น้อย เพราะเนื้อไม้แข็ง จึงใช้ทำเสา ด้ามจอบเสียม หรือเผามาทำฟืน
5. สารสกัดจากผักติ้ว ในงานวิจัยของนิสิตโครงการปริญญาเอก กาญจนาภิเษก (คปก.) คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ระบุว่า สารสกัดจาก "ผักติ้ว" สามารถนำไปใช้ในการยับยั้งกลิ่นหืนในอาหารได้ โดยเอายอดอ่อนของ "ผักติ้ว" ที่คนอีสานนิยมรับประทานเป็นผักเคียงกับลาบ ก้อย และแหนมเนืองเวียดนาม ไปเข้ากระบวนการสกัดผสมกับ "เอทานอล" และขั้นตอนอีกหลายขั้นตอนจะได้สารจาก "ผักติ้ว" ชื่อ "คอลโรจินิกแอซิก" นำไปใช้เป็นสารสกัดธรรมชาติป้องกันกลิ่นหืนของอาหารดีมาก
#ผักติ้ว
#ผักติ้ว
#ติ้ว แก้ไขข้อมูลเมื่อ 15 Oct 20 01:13
คำสำคัญ:
กล้าผักติ้ว