ชื่อสินค้า:
พญายาหรือกระแจ๊ะ หรือ ทานาคา ราคาต้นละ360฿
รหัส:
307906
ประเภท:
ราคา:
360.00 บาท
/ต้น?
ติดต่อ:
คุณสายทอง พิลัยพงษ์
ที่อยู่ร้าน:
อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ
ร้านนี้แจ้งเลขทะเบียนพานิชย์แล้ว
เปิดร้านมาแล้ว 6 ปี 3 เดือน
ไอดีไลน์:
โทรศัพท์:
คำเตือน: โปรดตรวจสอบความน่าเชื่อถือของร้าน เพื่อหลีกเลี่ยงการทุจริต การขอชำระเงินปลายทางเมื่อรับสินค้าถือเป็นอีกหนึ่งวิธีที่ดี
รายละเอียด
สมุนไพรกระแจะ มีชื่อท้องถิ่นอื่น ๆ ว่า กระแจะจัน ขะแจะ (ภาคเหนือ), ตุมตัง (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ[1], บ้างก็ว่าภาคกลาง[2]), พญายา (ราชบุรี, ภาคกลาง), ตะนาว (มอญ), พินิยา (เขมร), กระแจะสัน, ตูมตัง, จุมจัง, จุมจาง, ชะแจะ, พุดไทร, ฮางแกง, ทานาคา เป็นต้น[1],[2],[3],[4],[5]
สรรพคุณของกระแจะ
ผลมีรสขมและเฝื่อน ใช้เป็นยาบำรุงกำลังและเป็นยาบำรุงร่างกาย (ผล, ผลสุก)[1],[2],[6]
ช่วยบำรุงดวงจิตให้แช่มชื่น (เปลือกต้น)[1],[6]
ช่วยทำให้เจริญอาหาร (ผลสุก[1], เปลือกต้น[6], แก่น[6])
ช่วยแก้อาการผอมแห้ง (แก่น[1],[2],[6], ผล[6], ราก[6])
แก่นมีรสจืดและเย็น นำมาดองกับเหล้าใช้กินเป็นยาแก้กษัยได้ (อาการป่วยที่เกิดได้จากหลายสาเหตุ ทำให้ร่างกายเสื่อมโทรม ซูบผอม และโลหิตจาง) (แก่น[1],[2],[6], ผล[6], ราก[6])
แก่นใช้ดองกับเหล้ากินเป็นยาบำรุงโลหิต แก้โลหิตพิการ โรคเลือด (แก่น)[1],[2],[6]
ใบกระแจะมีรสขมและเฝื่อน ใช้ผสมกับสมุนไพรชนิดอื่นต้มกินแก้ลมบ้าหมู[1] แต่อีกตำราไม่ได้ระบุว่าต้องใช้ผสมกับสมุนไพรชนิดใด[2] (ใบ[1],[2],[6], ผล[6], ราก[6])
ช่วยแก้พิษ (ผล)[1],[2]
ช่วยแก้ไข้ ถอนพิษไข้ (ผล, ผลสุก, เปลือกต้น, แก่น, ราก)[1],[2],[6]
ช่วยแก้อาการร้อนใน ด้วยการใช้ต้นนำมาต้มกับน้ำดื่มเป็นยาครั้งละครึ่งแก้ว วันละ 3 เวลา (ต้น)[1]
แก้ไขข้อมูลเมื่อ 15 Oct 20 12:47
สรรพคุณของกระแจะ
ผลมีรสขมและเฝื่อน ใช้เป็นยาบำรุงกำลังและเป็นยาบำรุงร่างกาย (ผล, ผลสุก)[1],[2],[6]
ช่วยบำรุงดวงจิตให้แช่มชื่น (เปลือกต้น)[1],[6]
ช่วยทำให้เจริญอาหาร (ผลสุก[1], เปลือกต้น[6], แก่น[6])
ช่วยแก้อาการผอมแห้ง (แก่น[1],[2],[6], ผล[6], ราก[6])
แก่นมีรสจืดและเย็น นำมาดองกับเหล้าใช้กินเป็นยาแก้กษัยได้ (อาการป่วยที่เกิดได้จากหลายสาเหตุ ทำให้ร่างกายเสื่อมโทรม ซูบผอม และโลหิตจาง) (แก่น[1],[2],[6], ผล[6], ราก[6])
แก่นใช้ดองกับเหล้ากินเป็นยาบำรุงโลหิต แก้โลหิตพิการ โรคเลือด (แก่น)[1],[2],[6]
ใบกระแจะมีรสขมและเฝื่อน ใช้ผสมกับสมุนไพรชนิดอื่นต้มกินแก้ลมบ้าหมู[1] แต่อีกตำราไม่ได้ระบุว่าต้องใช้ผสมกับสมุนไพรชนิดใด[2] (ใบ[1],[2],[6], ผล[6], ราก[6])
ช่วยแก้พิษ (ผล)[1],[2]
ช่วยแก้ไข้ ถอนพิษไข้ (ผล, ผลสุก, เปลือกต้น, แก่น, ราก)[1],[2],[6]
ช่วยแก้อาการร้อนใน ด้วยการใช้ต้นนำมาต้มกับน้ำดื่มเป็นยาครั้งละครึ่งแก้ว วันละ 3 เวลา (ต้น)[1]
แก้ไขข้อมูลเมื่อ 15 Oct 20 12:47