ชื่อสินค้า:
ชะอม
รหัส:
301374
ประเภท:
ราคา:
20.00 บาท
ติดต่อ:
คุณกุสุมา ตุ่นแก้ว
ที่อยู่ร้าน:
จ.เชียงใหม่
ร้านนี้ยังไม่มีการแจ้งเลขทะเบียนพานิชย์
เปิดร้านมาแล้ว 11 ปี 9 เดือน
โทรศัพท์:
ปุ่มติดต่อ:
คำเตือน: โปรดตรวจสอบความน่าเชื่อถือของร้าน เพื่อหลีกเลี่ยงการทุจริต การขอชำระเงินปลายทางเมื่อรับสินค้าถือเป็นอีกหนึ่งวิธีที่ดี
รายละเอียด
ต้นชะอม
ชะอม ชื่อสามัญ Climbing wattle, Acacia, Cha-om
ชะอม ชื่อวิทยาศาสตร์ Acacia pennata (L.) Willd. จัดอยู่ในวงศ์ถั่ว (FABACEAE หรือ LEGUMINOSAE) และอยู่ในวงศ์ย่อยสีเสียด (MIMOSOIDEAE หรือ MIMOSACEAE)
ผักชะอม มีชื่อท้องถิ่นอื่น ๆ เช่น ผักหละ (ภาคเหนือ), อม (ภาคใต้), ผักขา (ภาคอีสาน อุดรธานี), พูซูเด๊าะ (แม่ฮ่องสอน), โพซุยโดะ (กะเหรี่ยง) เป็นต้น
สรรพคุณของชะอม
ช่วยต่อต้านอนุมูลอิสระ เนื่องจากมีวิตามินเอสูง
ยอดชะอมช่วยลดความร้อนในร่างกายได้
ผักรสมันอย่างชะอมมีสรรพคุณเป็นยาอายุวัฒนะ
ช่วยในการขับถ่าย ป้องกันโรคท้องผูก
รากชะอมนำมาฝนกินช่วยแก้อาการท้องอืด ท้องเฟ้อ ปวดท้อง และช่วยขับลมในลำไส้
มีส่วนช่วยบำรุงเส้นเอ็น
ช่วยแก้อาการลิ้นอักเสบเป็นผื่นแดง
ประโยชน์ของชะอม
ประโยชน์ของชะอม ช่วยฟื้นฟูผมแห้งเสีย แตกปลาย ด้วยสูตรน้ำชะอมหมักผม เพียงแค่นำใบชะอมประมาณ 1 กำมือมาต้มกับน้ำเปล่า 3 ถ้วย จนได้น้ำชะอมเข้มข้น กรองเอาแต่น้ำ เมื่อสระผมเสร็จให้นำผ้าขนหนูมาชุบน้ำชะอมที่เตรียมไว้ บิดพอหมาด นำมาเช็ดผมให้ทั่ว แล้วทิ้งไว้ประมาณ 10 นาทีแล้วล้างออก จะช่วยทำให้ผมแห้ง ๆ กลับมามีชีวิตชีวาอีกครั้ง
ชะอม ประโยชน์นำมาทำเป็นเมนูอาหารได้หลากหลายเมนู เมนูชะอม เช่น ไข่ชะอม ไข่ทอดชะอม ชะอมชุบไข่ แกงส้มชะอมกุ้ง แกงส้มชะอมไข่ นำมาลวกหรือนึ่งใช้เป็นผักจิ้มกับน้ำพริก น้ำพริกกะปิ รับประทานร่วมกับส้มตำมะม่วง ตำส้มโอ หรือจะนำไปปรุงเป็นแกงรวมกับปลา เนื้อ ไก่ กบ เขียด หรือต้มเป็นอ่อม ทำแกงลาว แกงแค เป็นต้น
โทษของชะอม
สำหรับคุณแม่ที่เพิ่งมีบุตรอ่อน ไม่ควรรับประทานผักชะอม เพราะจะทำให้น้ำนมแม่แห้งได้
ผักชะอม สำหรับคุณแม่ลูกอ่อน จะแพ้กลิ่นของผักชนิดนี้อย่างมาก ดังนั้นควรอยู่ห่าง ๆ
การรับประทานผักชะอมในหน้าฝน อาจจะมีรสเปรี้ยว กลิ่นฉุน บางครั้งอาจทำให้มีอาการปวดท้องได้ (ปกตินิยมรับประทานผักชะอมหน้าร้อน)
กรดยูริกเป็นตัวการที่ทำให้เกิดข้ออักเสบในผู้ป่วยโรคเกาต์ ซึ่งเกิดมาจากสารพิวรีน (Purine) โดยผักชะอมนั้นก็มีสารพิวรีนในระดับปานกลางถึงระดับสูง ผู้ป่วยโรคเกาต์สามารถรับประทานได้ แต่ควรรับประทานในปริมาณที่จำกัด หากเป็นมากก็ไม่ควรรับประทาน เพราะจะทำให้ปวดกระดูกได้
อาจพบเชื้อก่อโรคอย่างซาลโมเนลลา (Salmonella) ซึ่งเป็นเชื้อที่สามารถพบได้ทั่วไปในสภาพแวดล้อม เช่น ดิน น้ำ อากาศ เมื่อเรานำผักชะอมที่ปนเปื้อนสารชนิดนี้มาประกอบอาหารโดยไม่ล้างทำความสะอาดหลาย ๆ ครั้ง หรือไม่นำมาปรุงให้สุกก่อนรับประทาน อาจมีความเสี่ยงที่จะได้รับเชื้อชนิดนี้ได้ โดยผู้ที่ได้รับเชื้อชนิดอาจจะมีอาการท้องเสีย ปวดท้อง ถ่ายเหลวเป็นน้ำสีเขียว หรือถ่ายเป็นมูกมีเลือดปน มีไข้ เป็นต้น
cr.medthai
ต้นคนทีสอทะเล
คนทีสอทะเล ชื่อวิทยาศาสตร์ Vitex trifolia subsp. litoralis Steenis (ชื่อพ้องวิทยาศาสตร์ Vitex rotundifolia L.f.)[4],[5] ปัจจุบันจัดอยู่ในวงศ์กะเพรา (LAMIACEAE หรือ LABIATAE)
สมุนไพรคนทีสอทะเล มีชื่อท้องถิ่นอื่น ๆ ว่า คนที (ประจวบคีรีขันธ์), กูนิง (มลายู-นราธิวาส), คนทิสอทะเล คนทิ เป็นต้น
สรรพคุณของคนทีสอทะเล
ใบใช้เป็นยาธาตุบำรุงธาตุในร่างกาย (ใบ)[1],[2]
ใบ เถา และรากใช้เป็นยาขับเสมหะ (ใบ, เถา, ราก, ทั้งต้น)[1],[2],[4]
ช่วยแก้ริดสีดวงในลำคอ (เถา)[2]
เถาใช้เป็นยาแก้ลม (ทั้งต้น, เถา)[2],[4]
เถาช่วยแก้ตัวพยาธิ (ทั้งต้น, เถา)[2],[4]
รากใช้เป็นยาขับประจำเดือนของสตรี (ราก)[2]
ตำรายาไทยจะใช้รากเป็นยารักษาโรคตับ (ราก)[1]
ใบใช้ต้มกับน้ำอาบ ช่วยแก้โรคผิวหนังผื่นคัน หรือจะทำเป็นแชมพูสระผมหรือหมักผมก็ได้ จะช่วยฆ่าเชื้อรา กลากเกลื้อน ชันนะตุได้ดี หรือจะเอาใบไปดองกับแอลกอฮอล์แล้วกรองเอาแต่น้ำมาไว้ใช้เป็นยาหัวเชื้อ หรือจะนำใบไปสกัดกับน้ำกะทิเคี่ยวทิ้งไว้ประมาณ 6 ชั่วโมงจนได้น้ำมันคนที แล้วนำมาเก็บไว้เป็นหัวเชื้อน้ำมันสำหรับนวดตัว หรือจะเอาน้ำมันใบคนที 1 ส่วน ผสมกับน้ำมันมะรุมอีก 1 ส่วน ใช้เป็นยาหยอดเป็นยารักษาเล็บมือเล็บเท้าที่เป็นเชื้อรา เนื่องจากใบของคนทีสอจะมีกลิ่นหอมและมีน้ำมันหอมระเหยที่มีฤทธิ์ในการฆ่าเชื้อราอยู่ด้วย (ใบ)[1],[2]
ช่วยแก้อาการฟกช้ำบวม (ทั้งต้น,เถา)[2],[4]
ผลใช้เป็นยารักษาโรคเอดส์ (ผล)[2]
ประโยชน์ของคนทีสอทะเล
เนื่องจากเวลาแตกต้นและกิ่งก้านมาก ๆ และเวลามีดอกดกและดอกบานพร้อมกันทั้งต้นจะดูสวยงามมาก จึงนิยมใช้ปลูกเป็นไม้ประดับ ซึ่งในปัจจุบันท่านสามารถหาซื้อมาปลูกได้ที่ตลาดนัดไม้ดอกไม้ประดับสวนจตุจักร โดยจะนิยมนำมาปลูกลงในกระถาง ตั้งประดับไว้ในที่แจ้ง[3]
ทางภาคใต้นิยมใช้ใบของคนทีสอทะเลมาเป็นส่วนประกอบในการทำขนม โดยเป็นขนมพื้นเมืองเหนียว ๆ แต่ไม่ใช่กาละแม และเป็นสีเขียว ๆ มีรสชาติหวานอร่อยมาก เข้าใจว่าใช้ใบแห้งนำมาบดเป็นผงใช้ทำเป็นขนมคนทีสอ โดยนำใบแห้งไปผสมกับแป้งข้าวเหนียวและน้ำ แล้วนำไปนึ่งจนสุก นำมาหั่นเป็นชิ้น ๆ คลุกกับมะพร้าวขูด น้ำตาล และเกลือ
cr.medthai
สนใจติดต่อ สวนแดงจินดา
โทร 089-637-3665
Facebook: สวน แดง จินดา
เว็บไซค์ :dangjindagarden.com แก้ไขข้อมูลเมื่อ 18 Nov 18 05:06
ชะอม ชื่อสามัญ Climbing wattle, Acacia, Cha-om
ชะอม ชื่อวิทยาศาสตร์ Acacia pennata (L.) Willd. จัดอยู่ในวงศ์ถั่ว (FABACEAE หรือ LEGUMINOSAE) และอยู่ในวงศ์ย่อยสีเสียด (MIMOSOIDEAE หรือ MIMOSACEAE)
ผักชะอม มีชื่อท้องถิ่นอื่น ๆ เช่น ผักหละ (ภาคเหนือ), อม (ภาคใต้), ผักขา (ภาคอีสาน อุดรธานี), พูซูเด๊าะ (แม่ฮ่องสอน), โพซุยโดะ (กะเหรี่ยง) เป็นต้น
สรรพคุณของชะอม
ช่วยต่อต้านอนุมูลอิสระ เนื่องจากมีวิตามินเอสูง
ยอดชะอมช่วยลดความร้อนในร่างกายได้
ผักรสมันอย่างชะอมมีสรรพคุณเป็นยาอายุวัฒนะ
ช่วยในการขับถ่าย ป้องกันโรคท้องผูก
รากชะอมนำมาฝนกินช่วยแก้อาการท้องอืด ท้องเฟ้อ ปวดท้อง และช่วยขับลมในลำไส้
มีส่วนช่วยบำรุงเส้นเอ็น
ช่วยแก้อาการลิ้นอักเสบเป็นผื่นแดง
ประโยชน์ของชะอม
ประโยชน์ของชะอม ช่วยฟื้นฟูผมแห้งเสีย แตกปลาย ด้วยสูตรน้ำชะอมหมักผม เพียงแค่นำใบชะอมประมาณ 1 กำมือมาต้มกับน้ำเปล่า 3 ถ้วย จนได้น้ำชะอมเข้มข้น กรองเอาแต่น้ำ เมื่อสระผมเสร็จให้นำผ้าขนหนูมาชุบน้ำชะอมที่เตรียมไว้ บิดพอหมาด นำมาเช็ดผมให้ทั่ว แล้วทิ้งไว้ประมาณ 10 นาทีแล้วล้างออก จะช่วยทำให้ผมแห้ง ๆ กลับมามีชีวิตชีวาอีกครั้ง
ชะอม ประโยชน์นำมาทำเป็นเมนูอาหารได้หลากหลายเมนู เมนูชะอม เช่น ไข่ชะอม ไข่ทอดชะอม ชะอมชุบไข่ แกงส้มชะอมกุ้ง แกงส้มชะอมไข่ นำมาลวกหรือนึ่งใช้เป็นผักจิ้มกับน้ำพริก น้ำพริกกะปิ รับประทานร่วมกับส้มตำมะม่วง ตำส้มโอ หรือจะนำไปปรุงเป็นแกงรวมกับปลา เนื้อ ไก่ กบ เขียด หรือต้มเป็นอ่อม ทำแกงลาว แกงแค เป็นต้น
โทษของชะอม
สำหรับคุณแม่ที่เพิ่งมีบุตรอ่อน ไม่ควรรับประทานผักชะอม เพราะจะทำให้น้ำนมแม่แห้งได้
ผักชะอม สำหรับคุณแม่ลูกอ่อน จะแพ้กลิ่นของผักชนิดนี้อย่างมาก ดังนั้นควรอยู่ห่าง ๆ
การรับประทานผักชะอมในหน้าฝน อาจจะมีรสเปรี้ยว กลิ่นฉุน บางครั้งอาจทำให้มีอาการปวดท้องได้ (ปกตินิยมรับประทานผักชะอมหน้าร้อน)
กรดยูริกเป็นตัวการที่ทำให้เกิดข้ออักเสบในผู้ป่วยโรคเกาต์ ซึ่งเกิดมาจากสารพิวรีน (Purine) โดยผักชะอมนั้นก็มีสารพิวรีนในระดับปานกลางถึงระดับสูง ผู้ป่วยโรคเกาต์สามารถรับประทานได้ แต่ควรรับประทานในปริมาณที่จำกัด หากเป็นมากก็ไม่ควรรับประทาน เพราะจะทำให้ปวดกระดูกได้
อาจพบเชื้อก่อโรคอย่างซาลโมเนลลา (Salmonella) ซึ่งเป็นเชื้อที่สามารถพบได้ทั่วไปในสภาพแวดล้อม เช่น ดิน น้ำ อากาศ เมื่อเรานำผักชะอมที่ปนเปื้อนสารชนิดนี้มาประกอบอาหารโดยไม่ล้างทำความสะอาดหลาย ๆ ครั้ง หรือไม่นำมาปรุงให้สุกก่อนรับประทาน อาจมีความเสี่ยงที่จะได้รับเชื้อชนิดนี้ได้ โดยผู้ที่ได้รับเชื้อชนิดอาจจะมีอาการท้องเสีย ปวดท้อง ถ่ายเหลวเป็นน้ำสีเขียว หรือถ่ายเป็นมูกมีเลือดปน มีไข้ เป็นต้น
cr.medthai
ต้นคนทีสอทะเล
คนทีสอทะเล ชื่อวิทยาศาสตร์ Vitex trifolia subsp. litoralis Steenis (ชื่อพ้องวิทยาศาสตร์ Vitex rotundifolia L.f.)[4],[5] ปัจจุบันจัดอยู่ในวงศ์กะเพรา (LAMIACEAE หรือ LABIATAE)
สมุนไพรคนทีสอทะเล มีชื่อท้องถิ่นอื่น ๆ ว่า คนที (ประจวบคีรีขันธ์), กูนิง (มลายู-นราธิวาส), คนทิสอทะเล คนทิ เป็นต้น
สรรพคุณของคนทีสอทะเล
ใบใช้เป็นยาธาตุบำรุงธาตุในร่างกาย (ใบ)[1],[2]
ใบ เถา และรากใช้เป็นยาขับเสมหะ (ใบ, เถา, ราก, ทั้งต้น)[1],[2],[4]
ช่วยแก้ริดสีดวงในลำคอ (เถา)[2]
เถาใช้เป็นยาแก้ลม (ทั้งต้น, เถา)[2],[4]
เถาช่วยแก้ตัวพยาธิ (ทั้งต้น, เถา)[2],[4]
รากใช้เป็นยาขับประจำเดือนของสตรี (ราก)[2]
ตำรายาไทยจะใช้รากเป็นยารักษาโรคตับ (ราก)[1]
ใบใช้ต้มกับน้ำอาบ ช่วยแก้โรคผิวหนังผื่นคัน หรือจะทำเป็นแชมพูสระผมหรือหมักผมก็ได้ จะช่วยฆ่าเชื้อรา กลากเกลื้อน ชันนะตุได้ดี หรือจะเอาใบไปดองกับแอลกอฮอล์แล้วกรองเอาแต่น้ำมาไว้ใช้เป็นยาหัวเชื้อ หรือจะนำใบไปสกัดกับน้ำกะทิเคี่ยวทิ้งไว้ประมาณ 6 ชั่วโมงจนได้น้ำมันคนที แล้วนำมาเก็บไว้เป็นหัวเชื้อน้ำมันสำหรับนวดตัว หรือจะเอาน้ำมันใบคนที 1 ส่วน ผสมกับน้ำมันมะรุมอีก 1 ส่วน ใช้เป็นยาหยอดเป็นยารักษาเล็บมือเล็บเท้าที่เป็นเชื้อรา เนื่องจากใบของคนทีสอจะมีกลิ่นหอมและมีน้ำมันหอมระเหยที่มีฤทธิ์ในการฆ่าเชื้อราอยู่ด้วย (ใบ)[1],[2]
ช่วยแก้อาการฟกช้ำบวม (ทั้งต้น,เถา)[2],[4]
ผลใช้เป็นยารักษาโรคเอดส์ (ผล)[2]
ประโยชน์ของคนทีสอทะเล
เนื่องจากเวลาแตกต้นและกิ่งก้านมาก ๆ และเวลามีดอกดกและดอกบานพร้อมกันทั้งต้นจะดูสวยงามมาก จึงนิยมใช้ปลูกเป็นไม้ประดับ ซึ่งในปัจจุบันท่านสามารถหาซื้อมาปลูกได้ที่ตลาดนัดไม้ดอกไม้ประดับสวนจตุจักร โดยจะนิยมนำมาปลูกลงในกระถาง ตั้งประดับไว้ในที่แจ้ง[3]
ทางภาคใต้นิยมใช้ใบของคนทีสอทะเลมาเป็นส่วนประกอบในการทำขนม โดยเป็นขนมพื้นเมืองเหนียว ๆ แต่ไม่ใช่กาละแม และเป็นสีเขียว ๆ มีรสชาติหวานอร่อยมาก เข้าใจว่าใช้ใบแห้งนำมาบดเป็นผงใช้ทำเป็นขนมคนทีสอ โดยนำใบแห้งไปผสมกับแป้งข้าวเหนียวและน้ำ แล้วนำไปนึ่งจนสุก นำมาหั่นเป็นชิ้น ๆ คลุกกับมะพร้าวขูด น้ำตาล และเกลือ
cr.medthai
สนใจติดต่อ สวนแดงจินดา
โทร 089-637-3665
Facebook: สวน แดง จินดา
เว็บไซค์ :dangjindagarden.com แก้ไขข้อมูลเมื่อ 18 Nov 18 05:06