ชื่อสินค้า:
เต่าร้าง
รหัส:
291243
ประเภท:
ราคา:
20.00 บาท
ติดต่อ:
คุณครูจิ๋ว
ที่อยู่ร้าน:
อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี
ร้านนี้ยังไม่มีการแจ้งเลขทะเบียนพานิชย์
เปิดร้านมาแล้ว 6 ปี 5 เดือน
เบอร์โทรไลน์:
โทรศัพท์:
ปุ่มติดต่อ:
คำเตือน: โปรดตรวจสอบความน่าเชื่อถือของร้าน เพื่อหลีกเลี่ยงการทุจริต การขอชำระเงินปลายทางเมื่อรับสินค้าถือเป็นอีกหนึ่งวิธีที่ดี
รายละเอียด
มีหลายขนาด
ชื่อพื้นเมือง : เขืองหมู่ เกี๋ยง (ภาคเหนือ) หมากมือ (น่าน) เต่ารั้งมีหน่อ (ภาคกลาง) เต่ารั้งแดง (นครราชสีมา) มะเด็ง (ยะลา) งือเด็ง
ลักษณะทั้วไป :
ต้น สมุนไพรเต่าร้างเป็นพืชตระกูลปาล์ม ที่มีหน่อและขึ้นเป็นกอ พบทั่วไปในป่าดิบทุกแห่ง ชอบขึ้นในบริเวณที่มีความชุ่มชื้นสูง ต้นเป็นปล้องสูงชะลูดขึ้นไป บางต้นเตี้ย บางต้นสูงถึง 6-12 เมตร ต้นมีกาบหุ้มเป็นเส้นประสานกัน เส้นผ่านศุนย์กลางต้นประมาณ 10 ซม.
ใบ ใบเต่าร้างเป็นใบประกอบแบบขนนกสองชั้น เรียงสลับ ใบย่อยรูปสามเหลี่ยมหยักเว้า กว้างประมาณ 13 เซนติเมตร ยาว 20-30 เซนติเมตร ปลายแหลมคล้ายหางปลา โคนใบรูปลิ่ม แผ่นใบสีเขียวเป็นมัน กาบใบ ยาว 0.5-2 เมตร โคนกาบใบมีขนสีน้ำตาลแดงปนเทาหรือสีดำ และรยางค์สีน้ำตาลปกคลุม
ดอก ดอกของเ่ต่าร้างมีสีขาวอมเหลือง ออกเป็นช่อแบบช่อแยกแขนงระหว่างกาบใบหรือใต้โคนกาบใบ ดอกแยกเพศ อยู่ร่วมต้น ช่อดอกยาว 60-80 เซนติเมตร ดอกบานเต็มที่กว้าง 2 เซนติเมตร
ผล ผลของเต่าร้างมีลักษณะเป็นผลกลมเล็ก ๆ เรียงเป็นแถว ผลกลมเท่าปลายนิ้ว เป็นพวงระย้า ผลอ่อนมีสีเขียว เมื่อผลแก่จะมีสีแดงคล้ำถึงดำ ผิวของผลมีขนละเอียดเล็ก ๆ ถ้าได้สัมผัสจะ ทำให้คันมาก เช่นเดียวกับตำแยหรือหมามุ่ย
การขยายพันธุ์ : เต่าร้างขยายพันธุ์โดยการ เพาะเมล็ด หรือ แยกกอ
ประโยชน์ :ปลูกเป็นไม้ประดับ ช่วงประดับที่สวยงาม อยู่ในช่วงความสูง 2-5 เมตรเป็นอาหาร ส่วนที่ใช้เป็นอาหารคือยอดอ่อนและผล เมื่อผลสุกรับประทานได้ แต่เนื่องจากยางของผลเมื่อถูกผิวอาจคันหรือเข้าตาอาจตาบอดได้เนื้ออ่อนข้างในตรงบริเวณโคนต้น กินได้ แต่ต้องทำให้สุกเสียก่อน ปริมาณคุณค่าสารอาหาร ยังไม่มีรายงานการศึกษา และอาจทำน้ำตาลได้จากต้นเต่าร้างแดงได้เช่นเดียวกับมะพร้าว
สรรพคุณทางยา:
- ราก ดับพิษที่ตับ ปอด หัวใจ แก้หัวใจพิการ แก้ตับทรุด
- หัว ดับพิษที่ตับ ปอด หัวใจ บำรุงตับ แก้กาฬขึ้นที่ตับ แก้ตับทรุด แก้ช้ำใน บำรุงหัวใจ
ติดต่อ
โทร/id line 065-4289629 แก้ไขข้อมูลเมื่อ 29 May 18 08:45
ชื่อพื้นเมือง : เขืองหมู่ เกี๋ยง (ภาคเหนือ) หมากมือ (น่าน) เต่ารั้งมีหน่อ (ภาคกลาง) เต่ารั้งแดง (นครราชสีมา) มะเด็ง (ยะลา) งือเด็ง
ลักษณะทั้วไป :
ต้น สมุนไพรเต่าร้างเป็นพืชตระกูลปาล์ม ที่มีหน่อและขึ้นเป็นกอ พบทั่วไปในป่าดิบทุกแห่ง ชอบขึ้นในบริเวณที่มีความชุ่มชื้นสูง ต้นเป็นปล้องสูงชะลูดขึ้นไป บางต้นเตี้ย บางต้นสูงถึง 6-12 เมตร ต้นมีกาบหุ้มเป็นเส้นประสานกัน เส้นผ่านศุนย์กลางต้นประมาณ 10 ซม.
ใบ ใบเต่าร้างเป็นใบประกอบแบบขนนกสองชั้น เรียงสลับ ใบย่อยรูปสามเหลี่ยมหยักเว้า กว้างประมาณ 13 เซนติเมตร ยาว 20-30 เซนติเมตร ปลายแหลมคล้ายหางปลา โคนใบรูปลิ่ม แผ่นใบสีเขียวเป็นมัน กาบใบ ยาว 0.5-2 เมตร โคนกาบใบมีขนสีน้ำตาลแดงปนเทาหรือสีดำ และรยางค์สีน้ำตาลปกคลุม
ดอก ดอกของเ่ต่าร้างมีสีขาวอมเหลือง ออกเป็นช่อแบบช่อแยกแขนงระหว่างกาบใบหรือใต้โคนกาบใบ ดอกแยกเพศ อยู่ร่วมต้น ช่อดอกยาว 60-80 เซนติเมตร ดอกบานเต็มที่กว้าง 2 เซนติเมตร
ผล ผลของเต่าร้างมีลักษณะเป็นผลกลมเล็ก ๆ เรียงเป็นแถว ผลกลมเท่าปลายนิ้ว เป็นพวงระย้า ผลอ่อนมีสีเขียว เมื่อผลแก่จะมีสีแดงคล้ำถึงดำ ผิวของผลมีขนละเอียดเล็ก ๆ ถ้าได้สัมผัสจะ ทำให้คันมาก เช่นเดียวกับตำแยหรือหมามุ่ย
การขยายพันธุ์ : เต่าร้างขยายพันธุ์โดยการ เพาะเมล็ด หรือ แยกกอ
ประโยชน์ :ปลูกเป็นไม้ประดับ ช่วงประดับที่สวยงาม อยู่ในช่วงความสูง 2-5 เมตรเป็นอาหาร ส่วนที่ใช้เป็นอาหารคือยอดอ่อนและผล เมื่อผลสุกรับประทานได้ แต่เนื่องจากยางของผลเมื่อถูกผิวอาจคันหรือเข้าตาอาจตาบอดได้เนื้ออ่อนข้างในตรงบริเวณโคนต้น กินได้ แต่ต้องทำให้สุกเสียก่อน ปริมาณคุณค่าสารอาหาร ยังไม่มีรายงานการศึกษา และอาจทำน้ำตาลได้จากต้นเต่าร้างแดงได้เช่นเดียวกับมะพร้าว
สรรพคุณทางยา:
- ราก ดับพิษที่ตับ ปอด หัวใจ แก้หัวใจพิการ แก้ตับทรุด
- หัว ดับพิษที่ตับ ปอด หัวใจ บำรุงตับ แก้กาฬขึ้นที่ตับ แก้ตับทรุด แก้ช้ำใน บำรุงหัวใจ
ติดต่อ
โทร/id line 065-4289629 แก้ไขข้อมูลเมื่อ 29 May 18 08:45
คำสำคัญ:
เต่าร้าง