ชื่อสินค้า:
เมล็ดปลาไหลเผือก
รหัส:
290751
ประเภท:
ราคา:
2.00 บาท
ติดต่อ:
คุณป้าเล็ก อุบล
ที่อยู่ร้าน:
อ.เมืองอุบลราชธานี จ.อุบลราชธานี
ร้านนี้ยังไม่มีการแจ้งเลขทะเบียนพานิชย์
เปิดร้านมาแล้ว 13 ปี 7 เดือน
โทรศัพท์:
ปุ่มติดต่อ:
คำเตือน: โปรดตรวจสอบความน่าเชื่อถือของร้าน เพื่อหลีกเลี่ยงการทุจริต การขอชำระเงินปลายทางเมื่อรับสินค้าถือเป็นอีกหนึ่งวิธีที่ดี
รายละเอียด
ซื้ือกี่เมล็ดก็ได้ ค่าส่งครั้งละ40บาท
ปลาไหลเผือก
ปลาไหลเผือก ชื่อวิทยาศาสตร์ Eurycoma longifolia Jack จัดอยู่ในวงศ์ปลาไหลเผือก (SIMAROUBACEAE)[1]
สมุนไพรปลาไหลเผือก มีชื่อท้องถิ่นอื่น ๆ ว่า คะนาง ชะนาง (ตราด), กรุงบาดาล (สุราษฎร์ธานี), ไหลเผือก (ตรัง), ตรึงบาดาล (ปัตตานี), ตุงสอ ตรึงบาดาล เพียก หยิกบ่อถอง แฮพันชั้น (ภาคเหนือ), หยิกบ่อถอง หยิกไม่ถึง เอียนด่อน (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ), ปลาไหลเผือก ไหลเผือก (ภาคกลาง), เพียก (ภาคใต้), ตุวุวอมิง ตุวเบ๊าะมิง (มาเลย์-นราธิวาส), หมุนขึ้น เป็นต้น[1],[3] ส่วนชาวไทยมุสลิมทางภาคใต้จะเรียกต้นปลาไหลเผือกว่า “ตงกัตอาลี” (Tongkat Ali)[7]
สาเหตุที่เรียกสมุนไพรชนิดนี้ว่า “ปลาไหลเผือก” เนื่องมาจากรากของสมุนไพรชนิดนี้มีลักษณะคล้ายกับ “ปลาไหลเผือก” คือ รากเป็นสีขาว มีลักษณะยาวคล้ายปลาไหลเผือก อีกทั้งยังมีเพียงรากเดียว จึงทำให้บางท้องถิ่นจึงเรียกอีกชื่อว่า “พญารากเดียว”
รากปลาไหลเผือกที่ยิ่งมีอายุหลายปีจะยิ่งมีความยาวมาก ซึ่งบางครั้งอาจยาวได้มากกว่า 2 เมตร ทำให้บางท้องที่เรียกว่า “ตรึงบาดาล” ส่วนทางอีสานจะเรียกมันว่า เอี่ยนด่อน (คำว่า “เอี่ยน” ในภาษาอีสานแปลว่าปลาไหว ส่วนคำว่า “ด่อน” แปลว่าเผือก) แต่ชาวอีสานบางท้องที่จะเรียกว่า “หยิกบ่ถอง” ที่เรียกเช่นนั้นก็เพราะมีเรื่องเล่าตรงกันว่าในสมัยก่อนผู้ที่จะออกรบจะต้องพกปลาไหลเผือก (ที่ผ่านการปลุกเสกแล้ว) ติดตัวไปด้วย เพราะถือเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และก่อนเข้าสู่สนามรบก็นำมาเคี้ยวกิน จะทำให้มีเรี่ยวแรงและพละกำลังในการรบ ทำให้อยู่ยงคงกะพัน จึงได้ชื่อ หยิกบ่ถอง อีเฒ่าหนังยาน เพราะมีความหมายว่าหนังเหนียว ผิวหนังไม่มีความรู้สึกใด ๆ[7 แก้ไขข้อมูลเมื่อ 28 Mar 19 08:29
ปลาไหลเผือก
ปลาไหลเผือก ชื่อวิทยาศาสตร์ Eurycoma longifolia Jack จัดอยู่ในวงศ์ปลาไหลเผือก (SIMAROUBACEAE)[1]
สมุนไพรปลาไหลเผือก มีชื่อท้องถิ่นอื่น ๆ ว่า คะนาง ชะนาง (ตราด), กรุงบาดาล (สุราษฎร์ธานี), ไหลเผือก (ตรัง), ตรึงบาดาล (ปัตตานี), ตุงสอ ตรึงบาดาล เพียก หยิกบ่อถอง แฮพันชั้น (ภาคเหนือ), หยิกบ่อถอง หยิกไม่ถึง เอียนด่อน (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ), ปลาไหลเผือก ไหลเผือก (ภาคกลาง), เพียก (ภาคใต้), ตุวุวอมิง ตุวเบ๊าะมิง (มาเลย์-นราธิวาส), หมุนขึ้น เป็นต้น[1],[3] ส่วนชาวไทยมุสลิมทางภาคใต้จะเรียกต้นปลาไหลเผือกว่า “ตงกัตอาลี” (Tongkat Ali)[7]
สาเหตุที่เรียกสมุนไพรชนิดนี้ว่า “ปลาไหลเผือก” เนื่องมาจากรากของสมุนไพรชนิดนี้มีลักษณะคล้ายกับ “ปลาไหลเผือก” คือ รากเป็นสีขาว มีลักษณะยาวคล้ายปลาไหลเผือก อีกทั้งยังมีเพียงรากเดียว จึงทำให้บางท้องถิ่นจึงเรียกอีกชื่อว่า “พญารากเดียว”
รากปลาไหลเผือกที่ยิ่งมีอายุหลายปีจะยิ่งมีความยาวมาก ซึ่งบางครั้งอาจยาวได้มากกว่า 2 เมตร ทำให้บางท้องที่เรียกว่า “ตรึงบาดาล” ส่วนทางอีสานจะเรียกมันว่า เอี่ยนด่อน (คำว่า “เอี่ยน” ในภาษาอีสานแปลว่าปลาไหว ส่วนคำว่า “ด่อน” แปลว่าเผือก) แต่ชาวอีสานบางท้องที่จะเรียกว่า “หยิกบ่ถอง” ที่เรียกเช่นนั้นก็เพราะมีเรื่องเล่าตรงกันว่าในสมัยก่อนผู้ที่จะออกรบจะต้องพกปลาไหลเผือก (ที่ผ่านการปลุกเสกแล้ว) ติดตัวไปด้วย เพราะถือเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และก่อนเข้าสู่สนามรบก็นำมาเคี้ยวกิน จะทำให้มีเรี่ยวแรงและพละกำลังในการรบ ทำให้อยู่ยงคงกะพัน จึงได้ชื่อ หยิกบ่ถอง อีเฒ่าหนังยาน เพราะมีความหมายว่าหนังเหนียว ผิวหนังไม่มีความรู้สึกใด ๆ[7 แก้ไขข้อมูลเมื่อ 28 Mar 19 08:29
คำสำคัญ:
ปลาไหลเผือก