ชื่อสินค้า:
ขายกล้าหม่อน กิ่งปักชำ
รหัส:
261672
ประเภท:
ราคา:
50.00 บาท
ติดต่อ:
คุณสวน Madam fungdu
ที่อยู่ร้าน:
อ.เมืองสุพรรณบุรี จ.สุพรรณบุรี
ร้านนี้ยังไม่มีการแจ้งเลขทะเบียนพานิชย์
เปิดร้านมาแล้ว 8 ปี 1 เดือน
โทรศัพท์:
ปุ่มติดต่อ:
คำเตือน: โปรดตรวจสอบความน่าเชื่อถือของร้าน เพื่อหลีกเลี่ยงการทุจริต การขอชำระเงินปลายทางเมื่อรับสินค้าถือเป็นอีกหนึ่งวิธีที่ดี
รายละเอียด
ประโยชน์จากลูกหม่อน
1. มีสารต้านอนุมูลอิสระ (Antioxidant) ชื่อ Anthyocyanin ซึ่งเป็นสารสีม่วงแดง ช่วยป้องกันโรคหัวใจ และป้องกันโรคมะเร็ง
2. มีวิตามินบี 6 ช่วยบำรุงเลือด ตับ ไต ลดการเกิดสิว ลดอาการปวดประจำเดือน
3. ป้องกันและยับยั้งการเกิดลิ่มเลือด ป้องกันเส้นเลือดแตก สาเหตุของโรคอัมพฤก อัมพาต
4. มีวิตามินซี สูง ช่วยป้องกันหวัด โรคภูมิแพ้ โรคปอด วัณโรค ป้องกันเชื้อไวรัส
5. มีวิตามินเอ ช่วยบำรุงสายตา ป้องกันการเกิดต้อกระจก (ป้องกันแสงสีน้ำเงินเข้าทำลายเลนส์ตา)
บำรุงเหงือกและฟันสร้างภูมิให้ระบบหายใจ บำรุงผิว ลดการอักเสบของสิว
6. มีกรดโฟลิค หรือวิตามินใบไม้ หรือวิตามินเอ็ม ป้องกันโรคโลหิตจาง ป้องกันทารกพิการ
ช่วยการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ หญิงแรกตั้งครรภ์เดือนแรกต้องการกรดโฟลิค
7. ช่วยแก้อาการเมาค้าง ผ่อนคลายความเครียด
8. ช่วยบำรุงเส้นผมให้ดกดำ ป้องกันผมหงอกก่อนวัย“
สรรพคุณของใบหม่อน ช่วยป้องกันรักษาโรคเบาหวาน ลดระดับน้ำตาลในเส้นเลือด
ประโยชน์จากใบหม่อน
ใบหม่อนมีกรดอะมิโนที่จำเป็นต่อร่างกายครบทุกชนิด มีแคลเซียมสูง มีสารต้านอนุมูลอิสระที่สำคัญหลายชนิด
มีสรรพคุณลดระดับน้ำตาลในเลือด ลดความดันโลหิต ลดไขมันในเลือด ทั้งไม่พบผลข้างเคียง จึงปลอดภัยต่อผู้บริโภค
ใบหม่อนสดสามารถกินได้ โดยนำใบหม่อน 5-6 ใบ ไม่อ่อนไม่แก่เกินไป นำไปล้างแล้วปั่นกับน้ำสะอาด 2 แก้ว
เมื่อละเอียดแล้วกรองด้วยผ้าขาวบางคั้นเอาเฉพาะน้ำไว้ดื่ม จะช่วยขับสารพิษจากร่างกายและลดเบาหวานได้
ยอดใบหม่อนสามารถนำมาทำชาได้ วิธีการเก็บยอดใบหม่อนเพื่อที่จะนำมาสกัดเป็นชา จะใช้เพียง 3 ยอดบนสุดเท่านั้นและจะเก็บในช่วงเช้า
ก่อนพระอาทิตย์ขึ้น (วิธีการเก็บจะเหมือนกับการเก็บยอดชาทั่วไป) หลังจากนั้นนำมาตากแดดให้แห้ง หรือผ่านกระบวนการอบฆ่าเชื้อ
การทำชาใบหม่อน
1. เด็ดส่วนใบของหม่อน นำมาล้างน้ำให้สะอาด หลังจากนั้นนำมาซอยให้เป็นชิ้นเล็กๆ
2. นำขึ้นใส่ตะแกรงตากแดดประมาณ 2-3 แดด จนแห้ง หรือจะใช้วีธีนำเข้าเตาอบ ผ่านความร้อนก็ได้เช่นกัน
3. เก็บบรรจุใส่ภาชนะที่มิดชิด และเก็บไว้ในที่แห้งไม่อับชื้น
4. หากต้องการความหอมอีกรสชาติหนึ่ง ให้นำชาที่แห้งแล้ว ไปคั่วไฟอ่อนๆ ก่อนนำมาชงก็ได้ พื่อเพิ่มกลิ่นและรสของชาใบหม่อน
แก้ไขข้อมูลเมื่อ 31 Oct 16 05:53
1. มีสารต้านอนุมูลอิสระ (Antioxidant) ชื่อ Anthyocyanin ซึ่งเป็นสารสีม่วงแดง ช่วยป้องกันโรคหัวใจ และป้องกันโรคมะเร็ง
2. มีวิตามินบี 6 ช่วยบำรุงเลือด ตับ ไต ลดการเกิดสิว ลดอาการปวดประจำเดือน
3. ป้องกันและยับยั้งการเกิดลิ่มเลือด ป้องกันเส้นเลือดแตก สาเหตุของโรคอัมพฤก อัมพาต
4. มีวิตามินซี สูง ช่วยป้องกันหวัด โรคภูมิแพ้ โรคปอด วัณโรค ป้องกันเชื้อไวรัส
5. มีวิตามินเอ ช่วยบำรุงสายตา ป้องกันการเกิดต้อกระจก (ป้องกันแสงสีน้ำเงินเข้าทำลายเลนส์ตา)
บำรุงเหงือกและฟันสร้างภูมิให้ระบบหายใจ บำรุงผิว ลดการอักเสบของสิว
6. มีกรดโฟลิค หรือวิตามินใบไม้ หรือวิตามินเอ็ม ป้องกันโรคโลหิตจาง ป้องกันทารกพิการ
ช่วยการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ หญิงแรกตั้งครรภ์เดือนแรกต้องการกรดโฟลิค
7. ช่วยแก้อาการเมาค้าง ผ่อนคลายความเครียด
8. ช่วยบำรุงเส้นผมให้ดกดำ ป้องกันผมหงอกก่อนวัย“
สรรพคุณของใบหม่อน ช่วยป้องกันรักษาโรคเบาหวาน ลดระดับน้ำตาลในเส้นเลือด
ประโยชน์จากใบหม่อน
ใบหม่อนมีกรดอะมิโนที่จำเป็นต่อร่างกายครบทุกชนิด มีแคลเซียมสูง มีสารต้านอนุมูลอิสระที่สำคัญหลายชนิด
มีสรรพคุณลดระดับน้ำตาลในเลือด ลดความดันโลหิต ลดไขมันในเลือด ทั้งไม่พบผลข้างเคียง จึงปลอดภัยต่อผู้บริโภค
ใบหม่อนสดสามารถกินได้ โดยนำใบหม่อน 5-6 ใบ ไม่อ่อนไม่แก่เกินไป นำไปล้างแล้วปั่นกับน้ำสะอาด 2 แก้ว
เมื่อละเอียดแล้วกรองด้วยผ้าขาวบางคั้นเอาเฉพาะน้ำไว้ดื่ม จะช่วยขับสารพิษจากร่างกายและลดเบาหวานได้
ยอดใบหม่อนสามารถนำมาทำชาได้ วิธีการเก็บยอดใบหม่อนเพื่อที่จะนำมาสกัดเป็นชา จะใช้เพียง 3 ยอดบนสุดเท่านั้นและจะเก็บในช่วงเช้า
ก่อนพระอาทิตย์ขึ้น (วิธีการเก็บจะเหมือนกับการเก็บยอดชาทั่วไป) หลังจากนั้นนำมาตากแดดให้แห้ง หรือผ่านกระบวนการอบฆ่าเชื้อ
การทำชาใบหม่อน
1. เด็ดส่วนใบของหม่อน นำมาล้างน้ำให้สะอาด หลังจากนั้นนำมาซอยให้เป็นชิ้นเล็กๆ
2. นำขึ้นใส่ตะแกรงตากแดดประมาณ 2-3 แดด จนแห้ง หรือจะใช้วีธีนำเข้าเตาอบ ผ่านความร้อนก็ได้เช่นกัน
3. เก็บบรรจุใส่ภาชนะที่มิดชิด และเก็บไว้ในที่แห้งไม่อับชื้น
4. หากต้องการความหอมอีกรสชาติหนึ่ง ให้นำชาที่แห้งแล้ว ไปคั่วไฟอ่อนๆ ก่อนนำมาชงก็ได้ พื่อเพิ่มกลิ่นและรสของชาใบหม่อน
แก้ไขข้อมูลเมื่อ 31 Oct 16 05:53
คำสำคัญ:
หม่อนกินผล