ชื่อสินค้า:
ต้นไข่เน่า
รหัส:
248074
ประเภท:
ราคา:
50.00 บาท
/ต้น
ติดต่อ:
คุณพรพรรณ พูลสวัสดิ์ (นุช)
ที่อยู่ร้าน:
อ.บางแพ จ.ราชบุรี
ร้านนี้ยังไม่มีการแจ้งเลขทะเบียนพานิชย์
เปิดร้านมาแล้ว 10 ปี 1 เดือน
โทรศัพท์:
คำเตือน: โปรดตรวจสอบความน่าเชื่อถือของร้าน เพื่อหลีกเลี่ยงการทุจริต การขอชำระเงินปลายทางเมื่อรับสินค้าถือเป็นอีกหนึ่งวิธีที่ดี
รายละเอียด
ไข่เน่า ชื่อวิทยาศาสตร์ Vitex glabrata R.Br. ปัจจุบันจัดอยู่ในวงศ์กะเพรา (LAMIACEAE หรือ LABIATAE)
สมุนไพรไข่เน่า มีชื่อท้องถิ่นอื่น ๆ ว่า ขี้เห็น (เลย, อุบลราชธานี), ปลู (เขมร-สุรินทร์), คมขวาน ฝรั่งโคก (ภาคกลาง) เป็นต้น
ลักษณะของไข่เน่า
ต้นไข่เน่า เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ มีความสูงประมาณ 10-25 เมตร ผิวลำต้นเกลี้ยงเป็นสีหม่นและมีด่างเป็นดวงสีขาว ๆ ส่วนอีกข้อมูลระบุว่าเปลือกมีสีเทาหรือสีน้ำตาลแกมสีเหลือง ลักษณะผิวเรยบหรือแตกเป็นสะเก็ด หรือเป็นร่องตื้นตามยาวของลำต้น ส่วนกิ่งอ่อนและยอดอ่อนจะมีขนนุ่ม กิ่งอ่อนมีลักษณะเป็นสีสีเหลี่ยม ส่วนต้นเป็นทรงเรือนยอดรูปกรวยแตกกิ่งต่ำ เจริญเติบโตได้ดีในที่แห้งแล้ง โดยจะเริ่มให้ผลผลิตเมื่อมีอายุประมาณ 3-4 ปีหลังการปลูก โดยสามารถพบได้ตามป่าเบญจพรรณและป่าดิบทั่วไป และขยายพันธุ์ด้วยวิธีการใช้เมล็ด
ใบไข่เน่า มีใบเป็นใบประกอบแบบนิ้วมือ อยู่เรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก ใบย่อยมี 3-5 ใบย่อย ใบมีสีเขียวเข้ม (คล้ายใบงิ้ว) ลักษณะคล้ายรูปไข่ไข่กลับ หรือเป็นรูปรีแกมรูปไข่กลีบ ใบมีขนาดไม่เท่ากัน ปลายใบแหลมเป็นติ่ง ส่วนโคนใบสอบแหลมหรือมน ขนาดของใบกว้างประมาณ 3-10 เซนติเมตร และยาวประมาณ 9-22 เซนติเมตร ผิวใบด้านบนเกลี้ยงมีสีเขียวเข้มและเป็นมัน ส่วนท้องใบมีสีอ่อนกว่า และมีขนสั้นอยู่ประปราย ก้านใบย่อยยาวประมาณ 1-7 เซนติเมตร ส่วนก้านช่อใบจะยาวประมาณ 7-20 เซนติเมตร
ดอกไข่เน่า ออกดอกเป็นช่อตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ดอกมีขนาดเล็กและมีกลิ่นหอม กลีบดอกมีสีม่วงอ่อน (หรือสีม่วงอมชมพู สีขาวมีแดงเรื่อ ๆ) กลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอดกว้าง และมีขนละเอียดที่ดอก ดอกเมื่อบานเต็มที่จะมีความกว้างประมาณ 0.8-1 เซนติเมตร โดยดอกจะเป็นดอกแบบสมบูรณ์เพศผสมตัวเอง หรือต่างต้นต่างดอกก็ได้ และจะออกดอกในช่วงเดือนมกราคมถึงเดือนกุมภาพันธ์
ผลไข่เน่า หรือ ลูกไข่เน่า ผลมีลักษณะเป็นรูปไข่หรือรูปไข่กลับ ผลมีขนาดกว้างประมาณ 1.5-2 เซนติเมตร และยาวประมาณ 1.5-3 เซนติเมตร ขั้วผลเป็นรูปกรวยกว้าง ผลอ่อนมีสีเขียว ส่วนผลสุกจะเป็นสีม่วงดำ ผลมีเนื้ออ่อนนุ่ม และมีรสหวานอมเปรี้ยวและเหม็น ส่วนเมล็ดไข่เน่าจะมีขนาดเท่าปลายนิ้วก้อย และยังมีการสันนิษฐานว่า ชื่อไข่เน่านี้คงมาจากลักษณะและสีของผลนั่นเอง โดยผลแก่จะเก็บเกี่ยวในช่วงเดือนมิถุนายนถึงเดือนกรกฎาคม
สรรพคุณของไข่เน่า
1. ผลใช้รับประทาน กินแล้วหัวดี ช่วยบำรุงสมองได้ (ผล)
2. ผลอุดมไปด้วยแคลเซียม จึงช่วยบำรุงกระดูก แก้กระดูกผุสำหรับผู้สูงอายุได้ดี (ผล)
รากไข่เน่า สรรพคุณช่วยทำให้เจริญอาหาร (ราก,เปลือกต้น)
3. ผลสุกใช้รับประทาน มีสรรพคุณช่วยรักษาโรคเบาหวาน (ผล,เปลือกต้น)
4. ช่วยแก้ตานขโมย (โรคพยาธิในเด็ก ที่มีอาการเบื่ออาหาร อ่อนเพลีย ผอมแห้ง ซุบซีด มีอาการท้องเดิน ก้นปอด) (ราก,เปลือกต้น,ผล)
5. ช่วยรักษาพิษตานซาง (เปลือกต้น)[7]
6. ไข่เน่า สรรพคุณของเปลือกต้นช่วยแก้ไข้ (เปลือกต้น)
7. ช่วยแก้โรคเกล็ดกระดี่ขึ้นนัยน์ตา (ผล[1],[4], เปลือกผล)
8. เปลือกต้นมีรสฝาด สรรพคุณช่วยแก้อาการท้องเสียได้ (ราก,เปลือกต้น)
9. รากและเปลือกต้น มีสรรพคุณทางยาช่วยแก้บิด (ราก,เปลือกต้น)
10.ช่วยรักษาอาการท้องร่วง (ราก)
11.ช่วยแก้เด็กถ่ายเป็นฟอง (เปลือกต้น)
12.เปลือกต้นไข่เน่า สรรพคุณช่วยขับพยาธิในเด็กที่มีอาการเบื่ออาหาร (เปลือกต้น)
13.รากใช้ขับพยาธิไส้เดือน (ราก)
14.ช่วยรักษาโรคกระเพาะ หรือโรคลำไส้อักเสบของเด็กทารก (เปลือกผล)
15.ช่วยในระบบขับถ่าย (ผล)
16.ช่วยบำรุงระบบเพศ (ผล)
17.ลูกไข่เน่า สรรพคุณช่วยบำรุงไต (ผล)
18.สรรพคุณต้นไข่เน่า ช่วยแก้เลือดตกค้าง (เนื้อไม้)
19.นอกจากนี้หมอยาโบราณยังนิยมใช้เปลือกของต้นไข่เน่า มาต้มรวมกับรากเต่าไห้ เพื่อปรุงเป็นยารักษาโรคซางในเด็ก และเป็นยาขับพยาธิ (เปลือกต้น)
ข้อมูลไข่เน่า : เปลือกต้นไข่เน่า จะมีสารจำพวกสเตอรอยด์ (Steroid)ที่มีชื่อว่า -sitosterol และ ecdysterone และ anguside (p-hydroxybenzoic ester of aucubin แก้ไขข้อมูลเมื่อ 15 Oct 20 07:48
สมุนไพรไข่เน่า มีชื่อท้องถิ่นอื่น ๆ ว่า ขี้เห็น (เลย, อุบลราชธานี), ปลู (เขมร-สุรินทร์), คมขวาน ฝรั่งโคก (ภาคกลาง) เป็นต้น
ลักษณะของไข่เน่า
ต้นไข่เน่า เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ มีความสูงประมาณ 10-25 เมตร ผิวลำต้นเกลี้ยงเป็นสีหม่นและมีด่างเป็นดวงสีขาว ๆ ส่วนอีกข้อมูลระบุว่าเปลือกมีสีเทาหรือสีน้ำตาลแกมสีเหลือง ลักษณะผิวเรยบหรือแตกเป็นสะเก็ด หรือเป็นร่องตื้นตามยาวของลำต้น ส่วนกิ่งอ่อนและยอดอ่อนจะมีขนนุ่ม กิ่งอ่อนมีลักษณะเป็นสีสีเหลี่ยม ส่วนต้นเป็นทรงเรือนยอดรูปกรวยแตกกิ่งต่ำ เจริญเติบโตได้ดีในที่แห้งแล้ง โดยจะเริ่มให้ผลผลิตเมื่อมีอายุประมาณ 3-4 ปีหลังการปลูก โดยสามารถพบได้ตามป่าเบญจพรรณและป่าดิบทั่วไป และขยายพันธุ์ด้วยวิธีการใช้เมล็ด
ใบไข่เน่า มีใบเป็นใบประกอบแบบนิ้วมือ อยู่เรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก ใบย่อยมี 3-5 ใบย่อย ใบมีสีเขียวเข้ม (คล้ายใบงิ้ว) ลักษณะคล้ายรูปไข่ไข่กลับ หรือเป็นรูปรีแกมรูปไข่กลีบ ใบมีขนาดไม่เท่ากัน ปลายใบแหลมเป็นติ่ง ส่วนโคนใบสอบแหลมหรือมน ขนาดของใบกว้างประมาณ 3-10 เซนติเมตร และยาวประมาณ 9-22 เซนติเมตร ผิวใบด้านบนเกลี้ยงมีสีเขียวเข้มและเป็นมัน ส่วนท้องใบมีสีอ่อนกว่า และมีขนสั้นอยู่ประปราย ก้านใบย่อยยาวประมาณ 1-7 เซนติเมตร ส่วนก้านช่อใบจะยาวประมาณ 7-20 เซนติเมตร
ดอกไข่เน่า ออกดอกเป็นช่อตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ดอกมีขนาดเล็กและมีกลิ่นหอม กลีบดอกมีสีม่วงอ่อน (หรือสีม่วงอมชมพู สีขาวมีแดงเรื่อ ๆ) กลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอดกว้าง และมีขนละเอียดที่ดอก ดอกเมื่อบานเต็มที่จะมีความกว้างประมาณ 0.8-1 เซนติเมตร โดยดอกจะเป็นดอกแบบสมบูรณ์เพศผสมตัวเอง หรือต่างต้นต่างดอกก็ได้ และจะออกดอกในช่วงเดือนมกราคมถึงเดือนกุมภาพันธ์
ผลไข่เน่า หรือ ลูกไข่เน่า ผลมีลักษณะเป็นรูปไข่หรือรูปไข่กลับ ผลมีขนาดกว้างประมาณ 1.5-2 เซนติเมตร และยาวประมาณ 1.5-3 เซนติเมตร ขั้วผลเป็นรูปกรวยกว้าง ผลอ่อนมีสีเขียว ส่วนผลสุกจะเป็นสีม่วงดำ ผลมีเนื้ออ่อนนุ่ม และมีรสหวานอมเปรี้ยวและเหม็น ส่วนเมล็ดไข่เน่าจะมีขนาดเท่าปลายนิ้วก้อย และยังมีการสันนิษฐานว่า ชื่อไข่เน่านี้คงมาจากลักษณะและสีของผลนั่นเอง โดยผลแก่จะเก็บเกี่ยวในช่วงเดือนมิถุนายนถึงเดือนกรกฎาคม
สรรพคุณของไข่เน่า
1. ผลใช้รับประทาน กินแล้วหัวดี ช่วยบำรุงสมองได้ (ผล)
2. ผลอุดมไปด้วยแคลเซียม จึงช่วยบำรุงกระดูก แก้กระดูกผุสำหรับผู้สูงอายุได้ดี (ผล)
รากไข่เน่า สรรพคุณช่วยทำให้เจริญอาหาร (ราก,เปลือกต้น)
3. ผลสุกใช้รับประทาน มีสรรพคุณช่วยรักษาโรคเบาหวาน (ผล,เปลือกต้น)
4. ช่วยแก้ตานขโมย (โรคพยาธิในเด็ก ที่มีอาการเบื่ออาหาร อ่อนเพลีย ผอมแห้ง ซุบซีด มีอาการท้องเดิน ก้นปอด) (ราก,เปลือกต้น,ผล)
5. ช่วยรักษาพิษตานซาง (เปลือกต้น)[7]
6. ไข่เน่า สรรพคุณของเปลือกต้นช่วยแก้ไข้ (เปลือกต้น)
7. ช่วยแก้โรคเกล็ดกระดี่ขึ้นนัยน์ตา (ผล[1],[4], เปลือกผล)
8. เปลือกต้นมีรสฝาด สรรพคุณช่วยแก้อาการท้องเสียได้ (ราก,เปลือกต้น)
9. รากและเปลือกต้น มีสรรพคุณทางยาช่วยแก้บิด (ราก,เปลือกต้น)
10.ช่วยรักษาอาการท้องร่วง (ราก)
11.ช่วยแก้เด็กถ่ายเป็นฟอง (เปลือกต้น)
12.เปลือกต้นไข่เน่า สรรพคุณช่วยขับพยาธิในเด็กที่มีอาการเบื่ออาหาร (เปลือกต้น)
13.รากใช้ขับพยาธิไส้เดือน (ราก)
14.ช่วยรักษาโรคกระเพาะ หรือโรคลำไส้อักเสบของเด็กทารก (เปลือกผล)
15.ช่วยในระบบขับถ่าย (ผล)
16.ช่วยบำรุงระบบเพศ (ผล)
17.ลูกไข่เน่า สรรพคุณช่วยบำรุงไต (ผล)
18.สรรพคุณต้นไข่เน่า ช่วยแก้เลือดตกค้าง (เนื้อไม้)
19.นอกจากนี้หมอยาโบราณยังนิยมใช้เปลือกของต้นไข่เน่า มาต้มรวมกับรากเต่าไห้ เพื่อปรุงเป็นยารักษาโรคซางในเด็ก และเป็นยาขับพยาธิ (เปลือกต้น)
ข้อมูลไข่เน่า : เปลือกต้นไข่เน่า จะมีสารจำพวกสเตอรอยด์ (Steroid)ที่มีชื่อว่า -sitosterol และ ecdysterone และ anguside (p-hydroxybenzoic ester of aucubin แก้ไขข้อมูลเมื่อ 15 Oct 20 07:48
คำสำคัญ:
ต้นไข่เน่า
ต้นสมุนไพร