ชื่อสินค้า:
ต้นประคำไก่ ปะคำไก่ มะคำไก่
รหัส:
215486
ประเภท:
ราคา:
200.00 บาท
/ต้น
ติดต่อ:
คุณปุณณภา งานสำเร็จ
ที่อยู่ร้าน:
อ.เมืองนครราชสีมา จ.นครราชสีมา
ร้านนี้ยังไม่มีการแจ้งเลขทะเบียนพานิชย์
เปิดร้านมาแล้ว 14 ปี 2 เดือน
ไอดีไลน์:
โทรศัพท์:
ค่าขนส่ง:
80 บาท
คำเตือน: โปรดตรวจสอบความน่าเชื่อถือของร้าน เพื่อหลีกเลี่ยงการทุจริต การขอชำระเงินปลายทางเมื่อรับสินค้าถือเป็นอีกหนึ่งวิธีที่ดี
รายละเอียด
ขายต้นประคำไก่ ปะคำไก่ มะคำไก่
สมุนไพรหายาก ที่มาของคำว่า หมู (แห้วหมู) เห็ด(ชุมเห็ดเทศ) เป็ด(รากต้นตีนเป็ด) ไก่ (ปะคำไก่) คำสำนวนตำรับยาแก้กษัยที่หมอพื้นบ้านชอบพูดติดปาก
ช่องทางการติดต่อร้านวรากรสมุนไพรทางไลน์สะดวกที่สุดค่ะ
ไอดีไลน์ herbsddd
QR code https://line.me/ti/p/T-oZ81KZrM
โทร 0629246459,0616498997
ต้องการมาดูสินค้าโทรนัดหมายล่วงหน้านะคะ
ประคำไก่ (Drypetes roxburghii Wall.)
วงศ์ EUPHORBIACEAE
เป็นไม้ยืนต้น ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปรี โคนใบเบี้ยว ดอกเพศผู้และเพศเมียอยู่ต่างต้นกัน ผลกลมสุกสีดำ
สรรพคุณ ต้นเป็นยาเย็น ขับและปัสสาวะ ระบาย กระตุ้นความรู้สึกทางเพศ ใบ ผล เมล็ด กินเป็นยาลดไข้ และแก้หวัด
ต้นมะคำป่า (ประคำป่า)ต้นไม้ประจำเมืองโกสุมพิสัย ในจดหมายเหตุ การตั้งเมืองโกสุมพิสัย ได้ระบุว่าชาวบ้านวังท่าหอขวางได้ทำดอกไม้เงิน ดอกไม้ทอง ไปถวาย กรมหมื่นสรรพสิทธิประสงค์ จนได้สารตราตั้งเมืองโกสุมพิสัยมา เพราะสมัยนั้นพื้นที่บริเวณนี้เต็มไปด้วยต้มมะคำป่า (ซึ่งน่าจะเป็นภาษาถิ่นเรียก) เมื่อสืบหาต้นไม้ประจำเมืองที่ยังพอหลงเหลือถึงปัจจุบันเพียงไปกี่ 10 ต้นก็เทียบเคียงได้ว่าต้นมะคำป่าในตำนานนั้นใกล้เคียงกับต้น ประคำไก่
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Drypetes roxburghii (Wall.) Hurasawa
ชื่อวงศ์ : Euphorbiaceae
ชื่อสามัญ : -
ชื่ออื่น : มะคำไก่ มะคำดีไก่ (ภาคกลาง) หมากค้อ มักค้อ (ขอนแก่น) ,ปะอานก,ยาแก้,โอวนก(เหนือ),ทะขามกาย(ตะวันออก)
ลักษณะ
ประคำไก่เป็นไม้ต้น ต้นและกิ่งก้านสีขาวนวล กิ่งทอดห้อยลง
ใบ เดี่ยว เรียงสลับ รูปรี โคนใบเบี้ยว ใบหนา สีเขียว เป็นมัน
ดอก เพศผู้และเมียอยู่ต่างต้นกัน
ผล รูปทรงกลม สีขาวอมเทา สุกสีดำ
การขยายพันธุ์ เพาะเมล็ด
สรรพคุณ
ต้น - เป็นยาเย็น ขับปัสสาวะ เป็นยาระบายและกระตุ้นความรู้สึกทางเพศ
ใบ ผล และเมล็ด - กินเป็นยาลดไข้ แก้หวัด และแก้ปวดเมื่อยตามร่างกาย
ราก - มีรสขมเบื่อเล็กน้อย แก้กระษัย แก้เส้นเอ็น ทำให้เส้นเอ็นหย่อน ถ่ายฝีภายในทั้ง 5 หรือมะเร็ง แก้วัณโรค ขับปัสสวะ
ใบ - มีรสขมเบื่อเล็กน้อย แก้ริดสีดวงทวาร แก้พิษฝีในกระดูก ปอด ตับ ม้าม กระเพาะ ลำไส้ แก้กระษัย ขับปัสสาวะ ตำพอกฝี ปรุงยาถ่ายพิษฝี ถ่ายเส้น ถ่ายกระษัย
ยาทาพระเส้น ยาตำรับนี้ใช้ทาแก้โรคเส้นพิรุธ แก้ลมอัมพาต ลมปัฏฆาตกร่อน ตะคริว จับโปง เมื่อยขบ สำหรับส่วนผสมในตำรับยาก็คือ
พริกไทย ข่า กระชาย หอม กระเทียม มหาหิงคุ์ ยาดำ ทั้ง 7 อย่างนี้ให้นำมาอย่างละ 1 ส่วน
ตะไคร้หอม ใบขี้เหล็ก ใบตองแตก ใบมะขาม ใบเลี่ยน ทั้ง 5 อย่างนี้ให้นำมาอย่างละ 4 ส่วน
นอกจากนี้ยังมี ใบมะคำไก่ 16 ส่วน
นำส่วนผสมเหล่านี้มาตำให้ละเอียด แล้วนำมาห่อด้วยผ้าขาวบางคั้นเอาแต่น้ำมาทาบริเวณที่มีอาการเส้นตึง เป็นตะคริว หรือเมื่อขบ
หมูเห็ดเป็ดไก่เดิมเป็นชื่อเรียกสมุนไพร
หมู คือ หญ้าแห้วหมู
เห็ด คือ ใบชุมเห็ดเทศ
เป็ด คือ รากต้นตีนเป็ด
ไก่ คือ ต้นประคำไก่
คนที่เป็นโรดกษัย ( กะ - สัย ) คือ มีอาการผอมแห้ง ตัวเหลือง เท้าเย็น ร่างกายทรุดโทรม แพทย์แผนโบราณก็จะจัดยาสมุนไพรทั้ง 4 ชนิดที่กล่าวมาข้างต้นให้กิน จึงได้เรียกกันสั้นๆว่า หมู เห็ด เป็ด ไก่ แก้ไขข้อมูลเมื่อ 31 Aug 24 07:31
สมุนไพรหายาก ที่มาของคำว่า หมู (แห้วหมู) เห็ด(ชุมเห็ดเทศ) เป็ด(รากต้นตีนเป็ด) ไก่ (ปะคำไก่) คำสำนวนตำรับยาแก้กษัยที่หมอพื้นบ้านชอบพูดติดปาก
ช่องทางการติดต่อร้านวรากรสมุนไพรทางไลน์สะดวกที่สุดค่ะ
ไอดีไลน์ herbsddd
QR code https://line.me/ti/p/T-oZ81KZrM
โทร 0629246459,0616498997
ต้องการมาดูสินค้าโทรนัดหมายล่วงหน้านะคะ
ประคำไก่ (Drypetes roxburghii Wall.)
วงศ์ EUPHORBIACEAE
เป็นไม้ยืนต้น ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปรี โคนใบเบี้ยว ดอกเพศผู้และเพศเมียอยู่ต่างต้นกัน ผลกลมสุกสีดำ
สรรพคุณ ต้นเป็นยาเย็น ขับและปัสสาวะ ระบาย กระตุ้นความรู้สึกทางเพศ ใบ ผล เมล็ด กินเป็นยาลดไข้ และแก้หวัด
ต้นมะคำป่า (ประคำป่า)ต้นไม้ประจำเมืองโกสุมพิสัย ในจดหมายเหตุ การตั้งเมืองโกสุมพิสัย ได้ระบุว่าชาวบ้านวังท่าหอขวางได้ทำดอกไม้เงิน ดอกไม้ทอง ไปถวาย กรมหมื่นสรรพสิทธิประสงค์ จนได้สารตราตั้งเมืองโกสุมพิสัยมา เพราะสมัยนั้นพื้นที่บริเวณนี้เต็มไปด้วยต้มมะคำป่า (ซึ่งน่าจะเป็นภาษาถิ่นเรียก) เมื่อสืบหาต้นไม้ประจำเมืองที่ยังพอหลงเหลือถึงปัจจุบันเพียงไปกี่ 10 ต้นก็เทียบเคียงได้ว่าต้นมะคำป่าในตำนานนั้นใกล้เคียงกับต้น ประคำไก่
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Drypetes roxburghii (Wall.) Hurasawa
ชื่อวงศ์ : Euphorbiaceae
ชื่อสามัญ : -
ชื่ออื่น : มะคำไก่ มะคำดีไก่ (ภาคกลาง) หมากค้อ มักค้อ (ขอนแก่น) ,ปะอานก,ยาแก้,โอวนก(เหนือ),ทะขามกาย(ตะวันออก)
ลักษณะ
ประคำไก่เป็นไม้ต้น ต้นและกิ่งก้านสีขาวนวล กิ่งทอดห้อยลง
ใบ เดี่ยว เรียงสลับ รูปรี โคนใบเบี้ยว ใบหนา สีเขียว เป็นมัน
ดอก เพศผู้และเมียอยู่ต่างต้นกัน
ผล รูปทรงกลม สีขาวอมเทา สุกสีดำ
การขยายพันธุ์ เพาะเมล็ด
สรรพคุณ
ต้น - เป็นยาเย็น ขับปัสสาวะ เป็นยาระบายและกระตุ้นความรู้สึกทางเพศ
ใบ ผล และเมล็ด - กินเป็นยาลดไข้ แก้หวัด และแก้ปวดเมื่อยตามร่างกาย
ราก - มีรสขมเบื่อเล็กน้อย แก้กระษัย แก้เส้นเอ็น ทำให้เส้นเอ็นหย่อน ถ่ายฝีภายในทั้ง 5 หรือมะเร็ง แก้วัณโรค ขับปัสสวะ
ใบ - มีรสขมเบื่อเล็กน้อย แก้ริดสีดวงทวาร แก้พิษฝีในกระดูก ปอด ตับ ม้าม กระเพาะ ลำไส้ แก้กระษัย ขับปัสสาวะ ตำพอกฝี ปรุงยาถ่ายพิษฝี ถ่ายเส้น ถ่ายกระษัย
ยาทาพระเส้น ยาตำรับนี้ใช้ทาแก้โรคเส้นพิรุธ แก้ลมอัมพาต ลมปัฏฆาตกร่อน ตะคริว จับโปง เมื่อยขบ สำหรับส่วนผสมในตำรับยาก็คือ
พริกไทย ข่า กระชาย หอม กระเทียม มหาหิงคุ์ ยาดำ ทั้ง 7 อย่างนี้ให้นำมาอย่างละ 1 ส่วน
ตะไคร้หอม ใบขี้เหล็ก ใบตองแตก ใบมะขาม ใบเลี่ยน ทั้ง 5 อย่างนี้ให้นำมาอย่างละ 4 ส่วน
นอกจากนี้ยังมี ใบมะคำไก่ 16 ส่วน
นำส่วนผสมเหล่านี้มาตำให้ละเอียด แล้วนำมาห่อด้วยผ้าขาวบางคั้นเอาแต่น้ำมาทาบริเวณที่มีอาการเส้นตึง เป็นตะคริว หรือเมื่อขบ
หมูเห็ดเป็ดไก่เดิมเป็นชื่อเรียกสมุนไพร
หมู คือ หญ้าแห้วหมู
เห็ด คือ ใบชุมเห็ดเทศ
เป็ด คือ รากต้นตีนเป็ด
ไก่ คือ ต้นประคำไก่
คนที่เป็นโรดกษัย ( กะ - สัย ) คือ มีอาการผอมแห้ง ตัวเหลือง เท้าเย็น ร่างกายทรุดโทรม แพทย์แผนโบราณก็จะจัดยาสมุนไพรทั้ง 4 ชนิดที่กล่าวมาข้างต้นให้กิน จึงได้เรียกกันสั้นๆว่า หมู เห็ด เป็ด ไก่ แก้ไขข้อมูลเมื่อ 31 Aug 24 07:31
คำสำคัญ:
มะคำไก่
พันธุ์ไม้หายาก