ชื่อสินค้า:
ชาก้านบัว cordate, peduncle lotus tea
รหัส:
214569
ประเภท:
ราคา:
2,500.00 บาท
/ชิ้น
ติดต่อ:
คุณชนะ เหลือรักษ์
ที่อยู่ร้าน:
อ.ลาดหลุมแก้ว จ.ปทุมธานี
ร้านนี้ยังไม่มีการแจ้งเลขทะเบียนพานิชย์
เปิดร้านมาแล้ว 15 ปี 8 เดือน
โทรศัพท์:
ปุ่มติดต่อ:
คำเตือน: โปรดตรวจสอบความน่าเชื่อถือของร้าน เพื่อหลีกเลี่ยงการทุจริต การขอชำระเงินปลายทางเมื่อรับสินค้าถือเป็นอีกหนึ่งวิธีที่ดี
รายละเอียด
ช้าก้านบัว cordate and peduncle tea เป็นที่สุดของความหอม กลิ่นหอมมากๆ กลิ่นเหมือนโกโก้ร้อนผสม ชอคกาแล็ต หาทานยากขายเป็นกิโลกรัมละ 2500 บาท
สนใจข้อมูลได้ที่ 082-3224827 สรรพคุณทางยา
ลักษณะทางกายภาพและเคมีที่ดี :
ปริมาณความชื้นไม่เกิน 10%, ปริมาณเถ้ารวมไม่เกิน 10%,ปริมาณเถ้าที่ไม่ละลายในกรดไม่เกิน 1%, ปริมาณสารสกัดเฮกเซน ไดคลอโรมีเทน แอลกอฮอล์ และน้ำ เท่ากับ 7, 9, 7, 17 % w/w ตามลำดับ และพบองค์ประกอบหลักคือสารกลุ่มฟลาโวนอยด์ และอัลคาลอยด์
สรรพคุณ :
ตำรายาไทย: ก้านบัวหลวง ใช้บำรุงหัวใจ ทำให้ชุ่มชื่น บำรุงปอด บำรุงตับ บำรุงกำลัง คุมธาตุ แก้ล้ม แก้ไข้
ตำรายาจีน: ใช้แก้ปัสสาวะบ่อย แก้น้ำกามเคลื่อน (ฝันเปียก) แก้ตกขาว ประจำเดือนมามากกว่าปกติ เลือดกำเดาไหล และแก้อาการท้องเสีย
รูปแบบและขนาดยาที่ใช้ :
เมื่อใช้บำรุงหัวใจ เกสรปรุงเป็นยาหอมบำรุงหัวใจ บรรเทาอาการหน้ามืด วิงเวียนทำให้ชื่นใจ เป็นยาสงบประสาท ขับเสมหะ
1. ชาก้านบัว หรือแห้งประมาณ 1 หยิบมือ ชงกับน้ำร้อน 1 แก้ว (ประมาณ 240 มิลลิลิตร) ทิ้งไว้นาน 10-15 นาที ดื่มขณะที่ยังอุ่นอยู่ ครั้งละ 1 แก้ว วันละ 3-4 ครั้ง
2. ชาก้านบัวแห้ง บดเป็นผงครั้งละ 0.5 -1 ข้อนชา ชงน้ำร้อนดื่มหรือใช้ในขนาด 3-5 กรัม
องค์ประกอบทางเคมี :
ชาก้านบัว มีฟลาโวนอยด์หลายชนิด เช่น quercetin, luteolin, isoquercitrin, luteolin glucoside และมีรายงานพบแอลคาลอยด์ด้วย
การศึกษาทางเภสัชวิทยา :
ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ :
สารกลุ่มฟลาโวนอยด์ ที่พบในชาก้านบัวและดอกบัว มีฤทธิ์ต้านปฏิกิริยาออกซิเดชัน โดยเกสรตัวผู้มีฤทธิ์จับอนุมูลอิสระ DPPH โดยมีค่า EC50 42.05 g/ml
ฤทธิ์ต้านเบาหวาน :
เกสรตัวผู้ยังมีฤทธิ์ยับยั้ง rat lens aldose reductase (RLAR) และ advance glycation end products (AGE) โดยมีค่า IC50 48.30 และ 125.48 g/ml ตามลำดับ ซึ่งการยับยั้ง RLAR และ AGEมีผลต่อการลดการเกิดภาวะเบาหวาน
ฤทธิ์ทำให้นอนหลับ :
สารแอลคาลอยด์ ที่พบในบัว มีผลทำให้หนูนอนหลับ สารสกัดเมทานอลจากเหง้าบัว ทำให้ลดพฤติกรรม และกิจกรรมต่างๆในสัตว์ โดยเพิ่มการเกิด pentobarbitone-induced sleeping time ในหนู
ฤทธิ์ลดปวด และต้านการอักเสบ :
สารแอลคาลอยด์ ที่พบในบัว มีฤทธิ์ลดอาการปวด และแก้อักเสบสารสกัดเมทานอลจากเหง้า ในขนาด 200 มก./กก. และ 400 มก./กก. ลดการอักเสบในหนู โดยมีประสิทธิภาพเทียบเท่ากับ phenylbutazone และdexamethasoneทั้งการทดสอบในหลอดทดลอง และสัตว์ทดลอง
การศึกษาทางพิษวิทยา :
สารสกัดแอลกอฮอล์ของเกสรบัวหลวงขนาด 10 กรัม/กิโลกรัม โดยการป้อน หรือฉีดใต้ผิวหนังหนูถีบจักร ไม่ก่อเกิดความเป็นพิษ
ข้อควรระวัง:
ชาก้านบัวอาจก่อให้เกิดอาการแพ้ได้ในบางคน(โดยเฉพาะคนที่แพ้เกสรดอกไม้และชาก้านบัว)
แก้ไขข้อมูลเมื่อ 09 Apr 21 10:25
สนใจข้อมูลได้ที่ 082-3224827 สรรพคุณทางยา
ลักษณะทางกายภาพและเคมีที่ดี :
ปริมาณความชื้นไม่เกิน 10%, ปริมาณเถ้ารวมไม่เกิน 10%,ปริมาณเถ้าที่ไม่ละลายในกรดไม่เกิน 1%, ปริมาณสารสกัดเฮกเซน ไดคลอโรมีเทน แอลกอฮอล์ และน้ำ เท่ากับ 7, 9, 7, 17 % w/w ตามลำดับ และพบองค์ประกอบหลักคือสารกลุ่มฟลาโวนอยด์ และอัลคาลอยด์
สรรพคุณ :
ตำรายาไทย: ก้านบัวหลวง ใช้บำรุงหัวใจ ทำให้ชุ่มชื่น บำรุงปอด บำรุงตับ บำรุงกำลัง คุมธาตุ แก้ล้ม แก้ไข้
ตำรายาจีน: ใช้แก้ปัสสาวะบ่อย แก้น้ำกามเคลื่อน (ฝันเปียก) แก้ตกขาว ประจำเดือนมามากกว่าปกติ เลือดกำเดาไหล และแก้อาการท้องเสีย
รูปแบบและขนาดยาที่ใช้ :
เมื่อใช้บำรุงหัวใจ เกสรปรุงเป็นยาหอมบำรุงหัวใจ บรรเทาอาการหน้ามืด วิงเวียนทำให้ชื่นใจ เป็นยาสงบประสาท ขับเสมหะ
1. ชาก้านบัว หรือแห้งประมาณ 1 หยิบมือ ชงกับน้ำร้อน 1 แก้ว (ประมาณ 240 มิลลิลิตร) ทิ้งไว้นาน 10-15 นาที ดื่มขณะที่ยังอุ่นอยู่ ครั้งละ 1 แก้ว วันละ 3-4 ครั้ง
2. ชาก้านบัวแห้ง บดเป็นผงครั้งละ 0.5 -1 ข้อนชา ชงน้ำร้อนดื่มหรือใช้ในขนาด 3-5 กรัม
องค์ประกอบทางเคมี :
ชาก้านบัว มีฟลาโวนอยด์หลายชนิด เช่น quercetin, luteolin, isoquercitrin, luteolin glucoside และมีรายงานพบแอลคาลอยด์ด้วย
การศึกษาทางเภสัชวิทยา :
ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ :
สารกลุ่มฟลาโวนอยด์ ที่พบในชาก้านบัวและดอกบัว มีฤทธิ์ต้านปฏิกิริยาออกซิเดชัน โดยเกสรตัวผู้มีฤทธิ์จับอนุมูลอิสระ DPPH โดยมีค่า EC50 42.05 g/ml
ฤทธิ์ต้านเบาหวาน :
เกสรตัวผู้ยังมีฤทธิ์ยับยั้ง rat lens aldose reductase (RLAR) และ advance glycation end products (AGE) โดยมีค่า IC50 48.30 และ 125.48 g/ml ตามลำดับ ซึ่งการยับยั้ง RLAR และ AGEมีผลต่อการลดการเกิดภาวะเบาหวาน
ฤทธิ์ทำให้นอนหลับ :
สารแอลคาลอยด์ ที่พบในบัว มีผลทำให้หนูนอนหลับ สารสกัดเมทานอลจากเหง้าบัว ทำให้ลดพฤติกรรม และกิจกรรมต่างๆในสัตว์ โดยเพิ่มการเกิด pentobarbitone-induced sleeping time ในหนู
ฤทธิ์ลดปวด และต้านการอักเสบ :
สารแอลคาลอยด์ ที่พบในบัว มีฤทธิ์ลดอาการปวด และแก้อักเสบสารสกัดเมทานอลจากเหง้า ในขนาด 200 มก./กก. และ 400 มก./กก. ลดการอักเสบในหนู โดยมีประสิทธิภาพเทียบเท่ากับ phenylbutazone และdexamethasoneทั้งการทดสอบในหลอดทดลอง และสัตว์ทดลอง
การศึกษาทางพิษวิทยา :
สารสกัดแอลกอฮอล์ของเกสรบัวหลวงขนาด 10 กรัม/กิโลกรัม โดยการป้อน หรือฉีดใต้ผิวหนังหนูถีบจักร ไม่ก่อเกิดความเป็นพิษ
ข้อควรระวัง:
ชาก้านบัวอาจก่อให้เกิดอาการแพ้ได้ในบางคน(โดยเฉพาะคนที่แพ้เกสรดอกไม้และชาก้านบัว)
แก้ไขข้อมูลเมื่อ 09 Apr 21 10:25