ชื่อสินค้า:
หนุมานนั่งแท่น
รหัส:
209223
ประเภท:
ราคา:
80.00 บาท
ติดต่อ:
คุณกุสุมา ตุ่นแก้ว
ที่อยู่ร้าน:
จ.เชียงใหม่
ร้านนี้ยังไม่มีการแจ้งเลขทะเบียนพานิชย์
เปิดร้านมาแล้ว 11 ปี 7 เดือน
โทรศัพท์:
ปุ่มติดต่อ:
คำเตือน: โปรดตรวจสอบความน่าเชื่อถือของร้าน เพื่อหลีกเลี่ยงการทุจริต การขอชำระเงินปลายทางเมื่อรับสินค้าถือเป็นอีกหนึ่งวิธีที่ดี
รายละเอียด
ประโยชน์/สรรพคุณ
ใช้หัวกิน บำรุงพละกำลังสำหรับผู้ที่ใช้กำลังแบกหามทำงานหนัก
ใช้หัวโขลกละเอียดพอกทาตามข้อมือข้อเท้า นวดแก้เคล็ดขัดยอก
ใช้เป็นยาฟอกโลหิต และสมานแผล
ประโยชน์ของหนุมานนั่งแท่น
สมุนไพรหนุมานนั่งแท่นเป็นยาที่ถูกนำมาใช้รักษาแผลในม้า โดยพบว่าได้ยางหนุมานสามารถรักษาแผลให้หายได้ดีกว่าและเร็วกว่ายาเนกาซันท์ ยาปฏิชีวนะ และยาสมานแผลทั่วไป และยังเป็นยาเพียงชนิดเดียวที่ใช้รักษาบาดแผลเนื้องอกได้ ในขณะที่ยาอื่นรักษาไม่ได้ ส่วนแผลเน่าเปื่อยก็รักษาให้หายได้โดยใช้ระยะเวลาที่สั้นกว่ายาอื่นเท่าตัว (แม่โจ้)
ในด้านของความเชื่อ ในสมัยก่อนมีการนำมาใช้ในทางคงกระพันชาตรี ด้วยการนำหัวว่านมาแกะเป็นรูปพญาวานร แล้วเสกด้วยคาถาพุทธคุณ “อิติปิโส ภะคะวา – ภะคะวาติ” 3-7 จบ แล้วอมไว้หรือพกติดตัวไว้ จะทำให้ศัตรูแพ้พ่าย ถ้านำมาแกะเป็นรูปพญานาคราช ให้เสกด้วย “เมตตา” 3-7 จบ เมื่อไปเจรจากับผู้ใด จะมีแต่ผู้รักใคร่ ปราถนาสิ่งใดก็สำเร็จทุกประการ ถ้านำมาแกะเป็นรูปพระพรหมแผลงศร ให้เสกด้วยคาถา “อิติปิโส ภะคะวา – ภะคะวาติ” 3-7 จบ ใครจะมาทำร้ายทิ่มแทงเราก็จะล้มทับตัวเอง อาวุธที่มีก็จะพลัดหลุดจามือ จนสุดท้ายต้องหลบหนีไปเอง ถ้านำหัวว่านมาแกะเป็นรูปภควัมบดีปิดหูปิดตา คือปิดทวารทั้งเก้า ให้เสกด้วยคาถา “อิติปิโส ภะคะว่า – ภะคะวาติ” 7 จบ แล้วนำมาอมไว้ในปาก ผู้อื่นจะมองไม่เห็น ทำร้ายไม่ได้ หรือหากต้องการสิ่งใดก็จะสมดัง ปราถนา และถ้านำมาแกะเป็นรูปพระ แล้วเสกด้วยคาถา “อะ อิ อุ ธะ 7 จบ ก็จะช่วยป้องกันอันตรายได้ทั้งปวง”[4]
นิยมนำมาปลูกเป็นไม้ประดับและว่านมงคลชนิดหนึ่งตามบ้านและวัดทั่วไป นิยมขยายพันธุ์ด้วยการใช้หัวหรือเหง้า โดยนำดินร่วนปนทรายปนกับผงอิฐดินเผาทุบให้แหลกละเอียด ตากน้ำค้างทิ้งไว้หนึ่งคืน ผสมใบพืชตระกูลถั่ว หญ้าสับ วางหัวว่านไม่ต้องกลบดินจนมิด (ให้หัวโผล่ และให้แสงแดดรำไร) ตอนจะรดน้ำให้ว่าคาถา “นะโมพุทธายะ” 3 จบ และถ้าจะให้ดีควรปลูกในวันพฤหัสบดีข้างขึ้น เวลานำไปใช้ให้บอกกับต้นไม้ด้วยว่าจะใช้รักษาอะไร เช่น “ขอยารักษาแผลหน่อยนะ” แล้วน้ำยางจะไหลออกมามาก[4] ส่วนอีกความเชื่อหนึ่งระบุว่าถ้าจะขุดหัวว่านมาใช้ ให้เสกด้วยคาถา “สัพพาสี – ภาณามเห” 3 หรือ 7 จบ รดน้ำรอบต้นแล้วขุด ในขณะที่ขุดให้เสกด้วยคาถา “หะนุมานะ โสธาระ” ซึ่งเป็นคาถาผูกอีก 3 หรือ 7 จบ จึงเก็บหัวว่านมาใช้ และตอนนำมาใช้ก็ต้องเสกด้วยคาถา “นะโมพุทธายะ” 3 จบก่อนทุกครั้ง เชื่อว่าจะมีอานุภาพฟันแทงไม่เข้า
สรรพคุณของหนุมานนั่งแท่น
หัวหรือเหง้าใช้กินเป็นยาบำรุงพละกำลังสำหรับผู้ที่ใช้กำลังแบกหามหรือทำงานหนัก (เหง้า)[4]
เหง้ามีสรรพคุณเป็นยาฟอกโลหิต (เหง้า)[4]
ยาพื้นบ้านล้านนาจะใช้น้ำยางเป็นยาทารักษาแผลมีดบาด แผลถลอก และใช้ห้ามเลือด ส่วนวิธีใช้ขั้นตอนแรกก็ให้ล้างแผลด้วยน้ำสะอาดเสียก่อน แล้วซับแผลด้วยสำลีให้แห้ง แล้วใช้มือเด็ดบริเวณก้านกลางใบ โดยให้เลือดใบที่ไม่แก่หรืออ่อนจนเกินไป เมื่อน้ำยางเริ่มไหลออกมาก็ให้ใช้นิ่วมือรองยางที่หยดลงมา แล้วนำไปป้ายบริเวณแผลวันละ 2-3 ครั้ง แผลก็เริ่มแห้งและตกสะเก็ดภายใน 1-2 วัน(น้ำยาง)[1],[2] ส่วนเหง้าก็มีสรรพคุณเป็นยาสมานแผลเช่นกัน (เหง้า)[4]
ตำรับยาพื้นบ้านจะใช้น้ำยางจากต้นหนุมานนั่งแท่นเป็นยาทารักษาฝี (น้ำยาง)[1],[2]
นำเหง้ามาโขลกให้ละเอียดใช้เป็นยาพอกทาตามข้อมือข้อเท้า นวดแก้อาการเคล็ดขัดยอก (เหง้า)[
สนใจติดต่อ
โทร 089-637-3665
Line ID: linglingling99
Facebook: สวนแดงจินดา จำหน่ายพืชสมุนไพร เชียงใหม่
Facebook page :สวนแดงจินดา แก้ไขข้อมูลเมื่อ 17 Mar 17 10:35
ใช้หัวกิน บำรุงพละกำลังสำหรับผู้ที่ใช้กำลังแบกหามทำงานหนัก
ใช้หัวโขลกละเอียดพอกทาตามข้อมือข้อเท้า นวดแก้เคล็ดขัดยอก
ใช้เป็นยาฟอกโลหิต และสมานแผล
ประโยชน์ของหนุมานนั่งแท่น
สมุนไพรหนุมานนั่งแท่นเป็นยาที่ถูกนำมาใช้รักษาแผลในม้า โดยพบว่าได้ยางหนุมานสามารถรักษาแผลให้หายได้ดีกว่าและเร็วกว่ายาเนกาซันท์ ยาปฏิชีวนะ และยาสมานแผลทั่วไป และยังเป็นยาเพียงชนิดเดียวที่ใช้รักษาบาดแผลเนื้องอกได้ ในขณะที่ยาอื่นรักษาไม่ได้ ส่วนแผลเน่าเปื่อยก็รักษาให้หายได้โดยใช้ระยะเวลาที่สั้นกว่ายาอื่นเท่าตัว (แม่โจ้)
ในด้านของความเชื่อ ในสมัยก่อนมีการนำมาใช้ในทางคงกระพันชาตรี ด้วยการนำหัวว่านมาแกะเป็นรูปพญาวานร แล้วเสกด้วยคาถาพุทธคุณ “อิติปิโส ภะคะวา – ภะคะวาติ” 3-7 จบ แล้วอมไว้หรือพกติดตัวไว้ จะทำให้ศัตรูแพ้พ่าย ถ้านำมาแกะเป็นรูปพญานาคราช ให้เสกด้วย “เมตตา” 3-7 จบ เมื่อไปเจรจากับผู้ใด จะมีแต่ผู้รักใคร่ ปราถนาสิ่งใดก็สำเร็จทุกประการ ถ้านำมาแกะเป็นรูปพระพรหมแผลงศร ให้เสกด้วยคาถา “อิติปิโส ภะคะวา – ภะคะวาติ” 3-7 จบ ใครจะมาทำร้ายทิ่มแทงเราก็จะล้มทับตัวเอง อาวุธที่มีก็จะพลัดหลุดจามือ จนสุดท้ายต้องหลบหนีไปเอง ถ้านำหัวว่านมาแกะเป็นรูปภควัมบดีปิดหูปิดตา คือปิดทวารทั้งเก้า ให้เสกด้วยคาถา “อิติปิโส ภะคะว่า – ภะคะวาติ” 7 จบ แล้วนำมาอมไว้ในปาก ผู้อื่นจะมองไม่เห็น ทำร้ายไม่ได้ หรือหากต้องการสิ่งใดก็จะสมดัง ปราถนา และถ้านำมาแกะเป็นรูปพระ แล้วเสกด้วยคาถา “อะ อิ อุ ธะ 7 จบ ก็จะช่วยป้องกันอันตรายได้ทั้งปวง”[4]
นิยมนำมาปลูกเป็นไม้ประดับและว่านมงคลชนิดหนึ่งตามบ้านและวัดทั่วไป นิยมขยายพันธุ์ด้วยการใช้หัวหรือเหง้า โดยนำดินร่วนปนทรายปนกับผงอิฐดินเผาทุบให้แหลกละเอียด ตากน้ำค้างทิ้งไว้หนึ่งคืน ผสมใบพืชตระกูลถั่ว หญ้าสับ วางหัวว่านไม่ต้องกลบดินจนมิด (ให้หัวโผล่ และให้แสงแดดรำไร) ตอนจะรดน้ำให้ว่าคาถา “นะโมพุทธายะ” 3 จบ และถ้าจะให้ดีควรปลูกในวันพฤหัสบดีข้างขึ้น เวลานำไปใช้ให้บอกกับต้นไม้ด้วยว่าจะใช้รักษาอะไร เช่น “ขอยารักษาแผลหน่อยนะ” แล้วน้ำยางจะไหลออกมามาก[4] ส่วนอีกความเชื่อหนึ่งระบุว่าถ้าจะขุดหัวว่านมาใช้ ให้เสกด้วยคาถา “สัพพาสี – ภาณามเห” 3 หรือ 7 จบ รดน้ำรอบต้นแล้วขุด ในขณะที่ขุดให้เสกด้วยคาถา “หะนุมานะ โสธาระ” ซึ่งเป็นคาถาผูกอีก 3 หรือ 7 จบ จึงเก็บหัวว่านมาใช้ และตอนนำมาใช้ก็ต้องเสกด้วยคาถา “นะโมพุทธายะ” 3 จบก่อนทุกครั้ง เชื่อว่าจะมีอานุภาพฟันแทงไม่เข้า
สรรพคุณของหนุมานนั่งแท่น
หัวหรือเหง้าใช้กินเป็นยาบำรุงพละกำลังสำหรับผู้ที่ใช้กำลังแบกหามหรือทำงานหนัก (เหง้า)[4]
เหง้ามีสรรพคุณเป็นยาฟอกโลหิต (เหง้า)[4]
ยาพื้นบ้านล้านนาจะใช้น้ำยางเป็นยาทารักษาแผลมีดบาด แผลถลอก และใช้ห้ามเลือด ส่วนวิธีใช้ขั้นตอนแรกก็ให้ล้างแผลด้วยน้ำสะอาดเสียก่อน แล้วซับแผลด้วยสำลีให้แห้ง แล้วใช้มือเด็ดบริเวณก้านกลางใบ โดยให้เลือดใบที่ไม่แก่หรืออ่อนจนเกินไป เมื่อน้ำยางเริ่มไหลออกมาก็ให้ใช้นิ่วมือรองยางที่หยดลงมา แล้วนำไปป้ายบริเวณแผลวันละ 2-3 ครั้ง แผลก็เริ่มแห้งและตกสะเก็ดภายใน 1-2 วัน(น้ำยาง)[1],[2] ส่วนเหง้าก็มีสรรพคุณเป็นยาสมานแผลเช่นกัน (เหง้า)[4]
ตำรับยาพื้นบ้านจะใช้น้ำยางจากต้นหนุมานนั่งแท่นเป็นยาทารักษาฝี (น้ำยาง)[1],[2]
นำเหง้ามาโขลกให้ละเอียดใช้เป็นยาพอกทาตามข้อมือข้อเท้า นวดแก้อาการเคล็ดขัดยอก (เหง้า)[
สนใจติดต่อ
โทร 089-637-3665
Line ID: linglingling99
Facebook: สวนแดงจินดา จำหน่ายพืชสมุนไพร เชียงใหม่
Facebook page :สวนแดงจินดา แก้ไขข้อมูลเมื่อ 17 Mar 17 10:35
คำสำคัญ:
ว่านสมุนไพร