ชื่อสินค้า:
แปะตำบึง
รหัส:
205329
ประเภท:
ราคา:
40.00 บาท
ติดต่อ:
คุณกุสุมา ตุ่นแก้ว
ที่อยู่ร้าน:
จ.เชียงใหม่
ร้านนี้ยังไม่มีการแจ้งเลขทะเบียนพานิชย์
เปิดร้านมาแล้ว 11 ปี 9 เดือน
โทรศัพท์:
ปุ่มติดต่อ:
คำเตือน: โปรดตรวจสอบความน่าเชื่อถือของร้าน เพื่อหลีกเลี่ยงการทุจริต การขอชำระเงินปลายทางเมื่อรับสินค้าถือเป็นอีกหนึ่งวิธีที่ดี
รายละเอียด
แป๊ะตำปึง มีชื่อวิทยาศาสตร์ Gynura procumbens (Lour.) Merr. เป็นยาเย็น ตำรายาไทยและจีนใช้ใบสดตำละเอียดผสมสุราพอกปิดฝี แก้ฟกบวม แก้คัน แก้พิษอักเสบ แก้พิษแมลงกัดต่อย งูสวัด เริม
งานวิจัยสมุนไพรแป๊ะตำปึงที่ได้ดำเนินมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1995 พบว่า สารสกัดอัลกอฮอล์จากส่วนเหนือดินมีคุณสมบัติต้านอักเสบในสัตว์ทดลอง และพบสารกลุ่มฟลาโวนอยด์หลายชนิด ได้แก่ kaempferol ในรูปอิสระและกลัยโคไซด์ quercetin ในรูปอิสระและกลัยโคไซด์ ฟลาโวนอยด์เป็นสารที่อาจแสดงฤทธิ์ต้านอักเสบ ได้มีการทดลองใช้เจลต้านอักเสบที่มีสารสกัดแป๊ะตำปึง 2.5% เป็นตัวยา ในผู้ป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับเคมีบำบัด ซึ่งมักจะมีอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบ (chemotherapy related mucositis) พบว่าสามารถป้องกันและลดความรุนแรงของอาการได้อย่างมีนัยสำคัญ สมุนไพรแป๊ะตำปึงยังมีฤทธิ์ต้านไวรัสเริมในหลอดทดลอง ซึ่งสารกลุ่มที่แสดงฤทธิ์ดังกล่าว ได้แก่ กลุ่ม dicaffeoyl quinic acids, sitosteryl- และ stigmasteryl glucosides และ 1, 2-bis-dodecanoyl-3-alpha-D-glucopyranosyl-sn-glycerol ได้มีการทดลองใช้เจลต้านอักเสบที่มีสารสกัดแป๊ะตำปึงเป็นตัวยาในผู้ป่วยที่เป็นเริมที่ริมฝีปาก พบว่า ปริมาณไวรัสมีแนวโน้มลดลงเมื่อเทียบกับยาหลอก
ต้นแปะตำปึงเดิมเป็นต้นยามาจากประเทศจีน ลักษณะของใบยาจะหนานุ่มคล้ายกำมะหยี่ รสชาดของใบยาคล้ายชมพูที่ยังไม่แก่
สรรพคุณ ของใบยา ได้แก่ จะฟอกเลือด ปรับระบบเลือดให้ดีขึ้น น้ำเหลืองจะดีขึ้น รักษาแผลภายใน - ภายนอก ชะล้างสารพิษภายในร่ายกายออกทาง (อุจจาระ ปัสสาวะ และทางตา) ทำให้กินข้าวใด้นอนหลับอาการปวดต่าง ๆ ก็จะหาย ระบบหายใจจะดีขึ้นไม่เหนื่อยหอบ ขับลมแน่นภายในช่องท้อง โรคที่ใบยาแปะตำปึง ได้รักษาหายมาแล้ว ได้แก่โรคเบาหวาน ความดันสูง-ต่ำ โรคหืดหอบ-ภูมิแพ้ โรคมะเร็งทุกชนิด ริดสีดวงทวารหนัก งูสวัด โรคเก๊า ขับนิ่ว แผลสะเก็ดเงิน แผดฝีหนองทั่วไป โรคหัวใจ โรคโลหิตจาง เนื้องอกต่าง ๆ ในไต ปวดเหงือก ปวดฟันแผลอักเสบ ปวดท้องประจำเดือน คอเรสเตอรอล ไขมันในเส้นเลือด ไทรอยท์ ปวดเส้น ปวดหลัง โรคกระเพาะ ดวงตาที่เป็นต้อ ดวงตาอับเสบ ขุ่นมัว โรคผิวหนังทั่วไป (สิว ฝ้า เป็นด่าง) <โรคเอดส์ถ้าทานใบยาก็จะมีผลให้สุขภาพดีขึ้น>
วิธีการรับประทาน ใบสด ควรรับประทานวันละ 1 ครั้ง ประมาณ 2,3 หรือ 5 ใบ เวลาที่ควรรับประทานใบยาที่ดีที่สุดคือ ตี 5-7 โมงเช้า เพราะลำไส้เริ่มทำงาน ท้องยังว่างอยู่จะได้ผลเร็ว ถ้าบางท่านที่ปวดเหงือก - ปวดฟัน ปากเป็นแผลลำคออักเสบ ควรรับประทานใบยาในเวลากลางคืน (แปรงฟันให้เรียบร้อย) ค่อยรับประทานใบยาเคี้ยวและอมทิ้งไว้สักระยะเวลาหนี่งแล้วค่อยกลืน ผลที่จะได้รับคือ ตื่นเช้าอาการปวดจะหายไป จะขับถ่ายโล่งสบาย จะมีขี้ตาออกมาเยอะหน่อย เพราะใบยาจะขับสารพิษออกทางตา ถ้าใครปวดท้องและเป็นโรคกระเพาะให้รับประทานใบยาเดี่ยวนั้น สักพักหนึ่งอาการปวดของโรคกระเพาะก็จะหายไป ยังช่วยขับลมแก๊สที่แน่นในท้องออกด้วย ยังสามารถนำใบยาแปะตำปึงใปใช้ประโยชน์อย่างอื่นได้อีก นอกเหนือจากรับประทานใบสดแล้ว ได้แก่
1.นำใบยามาทำเป็นอาหาร เช่น แกงจืด (15-20 ใบต่อ 1 ท่าน)
2.นำมาพอกตาสำหรับคนที่ดวงตาเป็นต้อ ดวงตาอักเสบ ตามัว นำใบยาประมาณ 7-8 ใบ มาขยี้ หรือใช้ครกตำก็ได้ บีบน้ำยาใส่ที่ดวงตา แบ่งใบยาเป็น 2 ส่วน พอกไว้ 20-30 นาที ค่อยล้างออก ผลที่ได้รับคือ ดวงตาจะสว่างขึ้น แผลต่าง ๆ จะหายไป รวมทั้งต้อด้วย ถ้าท่านใดเป็นมาก ควรทำไว้สักระยะหนึ่ง
3. ท่านที่เป็นริดสีดวงทวารหนัก ควรทานใบสด และควรนำใบยามาขยี้หรือตำให้ได้พอเหมาะยัดใส่ทวารหนัก จำทำให้แผลหายเร็ว ติ่งที่โผล่ยุบเลือดที่ออกก็จะหยุด
การเก็บรักษาให้ได้นาน ถ้ามีใบยาที่แก่และเหลือง นำมาล้างแล้วผึ่งให้แห้ง นำมาปั่นหรือตำก็ได้ บีบน้ำยาใส่ถ้วย นำไปนึ่งให้สุกปล่อยให้เย็นแล้วใส่ขวดเก็บไว้ในตู้เย็น เก็บไว้ใช้ได้นาน ถ้าเป็นงูสวัด และแผลต่าง ๆ ใช้น้ำยาทา หรือนำใบยาสดมาตำพอกก็ได้ ตากแห้งทำใบชาได้
อาหารแสลงที่ควรระวัง เช่น เนื้อ กุ้ง ปลาหมึก ปู ปลาทู ปลาร้า หูฉลาม กะปิ ข้าวเหนียว หน่อไม้ แตงกวา หัวผักกาด เผือก สาเก เครื่องดองของเมา น้ำชา กาแฟ (ถ้าสุขภาพไม่แข็งแรงควรงด) <สตรีมีครรภ์ห้ามรับประทาน>
วิธีการปลูก ต้นยาแปะตำปึงเมื่อปลูกได้ระยะหนึ่งประมาณปีกว่าต้นแม่ก็จะตาย ควรหักปักชำใหม่ เมื่อโตเต็มที่แล้วจะมีช่อดอกสีเหลืองไม่มีฝักและเมล็ด ต้องปักชำเท่านั้น ต้นยาชอบน้ำ อากาศดี ชอบแสงแดดพอสมควร และดินร่วน สิ่งที่ควรระวัง คือ เพี้ยแป้งชอบเกาะลำต้นและใบ ถ้ามีเพี้ยแป้งก็จะมีมดแดง จะทำให้ต้นยาเหียวแห้ง และตาย ต้องระวังสัตว์บางชนิดชอบกิน
แก้ไขข้อมูลเมื่อ 02 Oct 13 01:23
งานวิจัยสมุนไพรแป๊ะตำปึงที่ได้ดำเนินมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1995 พบว่า สารสกัดอัลกอฮอล์จากส่วนเหนือดินมีคุณสมบัติต้านอักเสบในสัตว์ทดลอง และพบสารกลุ่มฟลาโวนอยด์หลายชนิด ได้แก่ kaempferol ในรูปอิสระและกลัยโคไซด์ quercetin ในรูปอิสระและกลัยโคไซด์ ฟลาโวนอยด์เป็นสารที่อาจแสดงฤทธิ์ต้านอักเสบ ได้มีการทดลองใช้เจลต้านอักเสบที่มีสารสกัดแป๊ะตำปึง 2.5% เป็นตัวยา ในผู้ป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับเคมีบำบัด ซึ่งมักจะมีอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบ (chemotherapy related mucositis) พบว่าสามารถป้องกันและลดความรุนแรงของอาการได้อย่างมีนัยสำคัญ สมุนไพรแป๊ะตำปึงยังมีฤทธิ์ต้านไวรัสเริมในหลอดทดลอง ซึ่งสารกลุ่มที่แสดงฤทธิ์ดังกล่าว ได้แก่ กลุ่ม dicaffeoyl quinic acids, sitosteryl- และ stigmasteryl glucosides และ 1, 2-bis-dodecanoyl-3-alpha-D-glucopyranosyl-sn-glycerol ได้มีการทดลองใช้เจลต้านอักเสบที่มีสารสกัดแป๊ะตำปึงเป็นตัวยาในผู้ป่วยที่เป็นเริมที่ริมฝีปาก พบว่า ปริมาณไวรัสมีแนวโน้มลดลงเมื่อเทียบกับยาหลอก
ต้นแปะตำปึงเดิมเป็นต้นยามาจากประเทศจีน ลักษณะของใบยาจะหนานุ่มคล้ายกำมะหยี่ รสชาดของใบยาคล้ายชมพูที่ยังไม่แก่
สรรพคุณ ของใบยา ได้แก่ จะฟอกเลือด ปรับระบบเลือดให้ดีขึ้น น้ำเหลืองจะดีขึ้น รักษาแผลภายใน - ภายนอก ชะล้างสารพิษภายในร่ายกายออกทาง (อุจจาระ ปัสสาวะ และทางตา) ทำให้กินข้าวใด้นอนหลับอาการปวดต่าง ๆ ก็จะหาย ระบบหายใจจะดีขึ้นไม่เหนื่อยหอบ ขับลมแน่นภายในช่องท้อง โรคที่ใบยาแปะตำปึง ได้รักษาหายมาแล้ว ได้แก่โรคเบาหวาน ความดันสูง-ต่ำ โรคหืดหอบ-ภูมิแพ้ โรคมะเร็งทุกชนิด ริดสีดวงทวารหนัก งูสวัด โรคเก๊า ขับนิ่ว แผลสะเก็ดเงิน แผดฝีหนองทั่วไป โรคหัวใจ โรคโลหิตจาง เนื้องอกต่าง ๆ ในไต ปวดเหงือก ปวดฟันแผลอักเสบ ปวดท้องประจำเดือน คอเรสเตอรอล ไขมันในเส้นเลือด ไทรอยท์ ปวดเส้น ปวดหลัง โรคกระเพาะ ดวงตาที่เป็นต้อ ดวงตาอับเสบ ขุ่นมัว โรคผิวหนังทั่วไป (สิว ฝ้า เป็นด่าง) <โรคเอดส์ถ้าทานใบยาก็จะมีผลให้สุขภาพดีขึ้น>
วิธีการรับประทาน ใบสด ควรรับประทานวันละ 1 ครั้ง ประมาณ 2,3 หรือ 5 ใบ เวลาที่ควรรับประทานใบยาที่ดีที่สุดคือ ตี 5-7 โมงเช้า เพราะลำไส้เริ่มทำงาน ท้องยังว่างอยู่จะได้ผลเร็ว ถ้าบางท่านที่ปวดเหงือก - ปวดฟัน ปากเป็นแผลลำคออักเสบ ควรรับประทานใบยาในเวลากลางคืน (แปรงฟันให้เรียบร้อย) ค่อยรับประทานใบยาเคี้ยวและอมทิ้งไว้สักระยะเวลาหนี่งแล้วค่อยกลืน ผลที่จะได้รับคือ ตื่นเช้าอาการปวดจะหายไป จะขับถ่ายโล่งสบาย จะมีขี้ตาออกมาเยอะหน่อย เพราะใบยาจะขับสารพิษออกทางตา ถ้าใครปวดท้องและเป็นโรคกระเพาะให้รับประทานใบยาเดี่ยวนั้น สักพักหนึ่งอาการปวดของโรคกระเพาะก็จะหายไป ยังช่วยขับลมแก๊สที่แน่นในท้องออกด้วย ยังสามารถนำใบยาแปะตำปึงใปใช้ประโยชน์อย่างอื่นได้อีก นอกเหนือจากรับประทานใบสดแล้ว ได้แก่
1.นำใบยามาทำเป็นอาหาร เช่น แกงจืด (15-20 ใบต่อ 1 ท่าน)
2.นำมาพอกตาสำหรับคนที่ดวงตาเป็นต้อ ดวงตาอักเสบ ตามัว นำใบยาประมาณ 7-8 ใบ มาขยี้ หรือใช้ครกตำก็ได้ บีบน้ำยาใส่ที่ดวงตา แบ่งใบยาเป็น 2 ส่วน พอกไว้ 20-30 นาที ค่อยล้างออก ผลที่ได้รับคือ ดวงตาจะสว่างขึ้น แผลต่าง ๆ จะหายไป รวมทั้งต้อด้วย ถ้าท่านใดเป็นมาก ควรทำไว้สักระยะหนึ่ง
3. ท่านที่เป็นริดสีดวงทวารหนัก ควรทานใบสด และควรนำใบยามาขยี้หรือตำให้ได้พอเหมาะยัดใส่ทวารหนัก จำทำให้แผลหายเร็ว ติ่งที่โผล่ยุบเลือดที่ออกก็จะหยุด
การเก็บรักษาให้ได้นาน ถ้ามีใบยาที่แก่และเหลือง นำมาล้างแล้วผึ่งให้แห้ง นำมาปั่นหรือตำก็ได้ บีบน้ำยาใส่ถ้วย นำไปนึ่งให้สุกปล่อยให้เย็นแล้วใส่ขวดเก็บไว้ในตู้เย็น เก็บไว้ใช้ได้นาน ถ้าเป็นงูสวัด และแผลต่าง ๆ ใช้น้ำยาทา หรือนำใบยาสดมาตำพอกก็ได้ ตากแห้งทำใบชาได้
อาหารแสลงที่ควรระวัง เช่น เนื้อ กุ้ง ปลาหมึก ปู ปลาทู ปลาร้า หูฉลาม กะปิ ข้าวเหนียว หน่อไม้ แตงกวา หัวผักกาด เผือก สาเก เครื่องดองของเมา น้ำชา กาแฟ (ถ้าสุขภาพไม่แข็งแรงควรงด) <สตรีมีครรภ์ห้ามรับประทาน>
วิธีการปลูก ต้นยาแปะตำปึงเมื่อปลูกได้ระยะหนึ่งประมาณปีกว่าต้นแม่ก็จะตาย ควรหักปักชำใหม่ เมื่อโตเต็มที่แล้วจะมีช่อดอกสีเหลืองไม่มีฝักและเมล็ด ต้องปักชำเท่านั้น ต้นยาชอบน้ำ อากาศดี ชอบแสงแดดพอสมควร และดินร่วน สิ่งที่ควรระวัง คือ เพี้ยแป้งชอบเกาะลำต้นและใบ ถ้ามีเพี้ยแป้งก็จะมีมดแดง จะทำให้ต้นยาเหียวแห้ง และตาย ต้องระวังสัตว์บางชนิดชอบกิน
แก้ไขข้อมูลเมื่อ 02 Oct 13 01:23
คำสำคัญ:
แปะตำปึง