ชื่อสินค้า:
สารจับใบ
รหัส:
199265
ประเภท:
ราคา:
80.00 บาท
ติดต่อ:
คุณเอกชัย นำเจริญ
ที่อยู่ร้าน:
อ.หางดง จ.เชียงใหม่
ร้านนี้ยังไม่มีการแจ้งเลขทะเบียนพานิชย์
เปิดร้านมาแล้ว 12 ปี 3 เดือน
โทรศัพท์:
ปุ่มติดต่อ:
คำเตือน: โปรดตรวจสอบความน่าเชื่อถือของร้าน เพื่อหลีกเลี่ยงการทุจริต การขอชำระเงินปลายทางเมื่อรับสินค้าถือเป็นอีกหนึ่งวิธีที่ดี
รายละเอียด
สารจับใบ (เล ทรอน ซีเอส 7) ขนาด 100 ซีซี ราคา 60 บาท
อัตราส่วนการใช้ 2 - 3 ซีซี/น้ำ 20 ลิตร (ผสมน้ำได้ประมาณ 1,000 ลิตร)
ใช้สำหรับเพิ่มประสิทธิภาพของสารชีวภัณฑ์, สารกำจัดแมลง, สารป้องกันและกำจัดโรคพืช,
ธาตุอาหารเสริมที่ให้ทางใบ รวมถึงฮอร์โมนพืชต่างๆ (สารจับใบนี้ผลิตจากโพลีเมอร์ธรรมชาติไม่เป็นอันตรายต่อคนและสัตว์)
ประโยชน์ของสารจับใบ
1. ทำหน้าที่ลดแรงตึงผิวของสารละลายที่พ่น ทำให้สารละลายที่พ่นไปสัมผัสกับพื้นผิวของพืช และแมลงได้ง่ายขึ้น
2. ช่วยให้สารละลายที่ฉีดพ่นไปยึดเกาะกับพื้นผิวของพืชและแมลงได้ดีขึ้น ป้องกันไม่ให้สูญเสียสารละลายไปที่ฉีดพ่นไป อันเนื่องจากกระแสลม, การชะล้างของน้ำฝนหรือน้ำค้าง ทำให้ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการฉีดพ่นสารละลายต่างๆ เนื่องจากไม่ต้องฉีดพ่นซ้ำบ่อยๆ เวลาที่มีฝนตกชะล้าง
3. กระตุ้นการเจริญเติบโตของพืช กล่าวคือเมื่อ ฉีดพ่นสารเสริมประสิทธิภาพลงบนส่วนของใบพืชแล้วจะทำให้ฝุ่นละออง หรือสารกำจัดศัตรูพืชไม่ไปอุดตันปากใบของพืช จึงทำให้พืชสามารถสังเคราะห์แสงได้อย่างเต็มที่ สามารถเจริญเติบโตให้ผลผลิตได้อย่างสมบูรณ์
4. นอกจากจะทำหน้าที่เปียกใบและจับใบแล้ว ยังเพิ่มความสามารถของน้ำและสารละลายที่ฉีดพ่น ให้ซึมผ่านผิวใบไม้ ผิวของลำต้น หรือส่วนต่างๆ รวมถึงเปลือกหุ้มตัวของแมลงที่มีลักษณะเป็นเปลือกแข็งลื่น หรือแมลงที่มีลักษณะลำตัวเป็นแป้งที่ของเหลวเกาะติดได้ยาก ให้สามารถซึมผ่านหรือเกาะติดที่ตัวแมลงได้ดียิ่งขึ้น ทำให้การใช้งานสารชีวภัณฑ์ ในการป้องกัน-กำจัดโรคพืชและแมลง มีประสิทธิภาพสูงขึ้น และช่วยใช้ประหยัดสารละลายต่างๆนั้นด้วย เนื่องจากไม่ต้องฉีดพ่นซ้ำอยู่บ่อยๆ
5. ช่วยให้สารกำจัดศัตรูพืชกระจายตัวในน้ำได้ดี โดย ปกติแล้ว สารกำจัดศัตรูพืชชนิดที่มีน้ำมันเป็นตัวทำละลาย หรือสารกำจัดศัตรูพืชชนิดที่เป็นผง จะรวมตัวกับน้ำได้ไม่ดี อาจมีการแยกชั้น หรือเกาะกลุ่มเป็นตะกอนได้โดยง่าย แต่เมื่อผสมสารเสริมประสิทธิภาพ ซึ่งมีสามารถลดแรงตึงผิวของน้ำได้ (Non – ionic Serfactants) จะช่วยทำให้สารกำจัดแมลง และสารกำจัดโรคพืชไม่เกิดเป็นตะกอน หรือแยกตัวเป็นชั้น แต่จะมีการกระจายตัวในน้ำได้ดีและสม่ำเสมอ
6. ทำให้น้ำสามารถแทรกซึมผ่านชั้นดินที่แน่นทึบได้ดีขึ้น เพราะสารลดแรงตึงผิว (Non – ionic Serfactants) ทำให้ดินที่ปลูกพืชคลายความแน่นลง อนุภาคของเม็ดดินขนาดเล็ก แยกตัวออกจากกันไม่เกาะกันเป็นก้อนแข็ง น้ำจึงซึมผ่านลงไปสู่ดินชั้นล่างได้ง่าย และพืชสามารถหยั่งรากลึกลงดินและหาอาหารได้ดีขึ้น หรือแม้ในช่วงที่มีฝนตกหนัก น้ำฝนก็จะซึมผ่านลงดินได้เร็ว
7. เป็นโพลิเมอร์ที่ได้มาจากธรรมชาติ ไม่มีอันตรายต่อคน, สัตว์เลี้ยง อีกทั้งยังสามารถย่อยสลายได้เองตามธรรมชาติ จึงไม่เป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม จึงใช้ร่วมกับสารชีวภัณฑ์กำจัดโรคพืช และแมลงได้อย่างปลอดภัย
หมายเหตุ
น้ำยาล้างจาน, สบู่, แชมพู ฯลฯ ไม่ควรนำมาใช้เป็นสารจับใบและใช้ร่วมกับสารชีวภัณฑ์ เนื่องจากผลิตภัณฑ์เหล่านี้มจะผสมสารกำจัดเชื้อโรคต่างๆ ลงไปด้วย ซึ่งเคมีที่ผสมลงไปนั้นผลิตภัณฑ์เหล่านั้นจะมีผลทำให้ เชื้อราไตรโครเดอร์มา, เชื้อราบิวเวอร์เรีย, เชื้อราแมทธาไรเซียม, เชื้อบีที, จุลินทรีย์ EM หรือสารชีวภัณฑ์ชนิดต่างๆ ที่ใช้ในการป้องกัน-กำจัดโรคและแมลงในพืช เหล่านี้อ่อนแอ และตายลงได้ ทำให้การใช้งานสารชีวภัณฑ์ไม่ได้ผลเท่าที่ควร
ข้อจำกัดในการใช้สารจับใบ
1. ไม่ควรใช้กับผักที่มีนวล เช่น คะน้า, องุ่น เนื่องจากจะทำให้แป้งที่เกาะผิวของผัก, ผลไม้ นั้นหลุดไปทำให้ไม่สวยงาม
วิธีการสั่งซื้อ :
1. ลูกค้าส่งอีเมล์หรือโทรศัพท์สอบถามราคา (087-177-6447 คุณเอก)
2. แจ้งยอดชำระ (พร้อมวิธีจัดส่ง)
3. ลูกค้าเลือกวิธีการจัดส่ง พร้อมโอนเงินชำระค่าสินค้า+ค่าจัดส่ง
4. ลูกค้าแจ้งการชำระเงิน, ชื่อ-ที่อยู่และวิธีการจัดส่งให้ เซน ไฮโดรโพนิกส์ ทราบทาง
- คุณเอก 087-177-6447 หรือ [email protected]
5. จัดส่งสินค้าทุกวัน ยกเว้นวันอาทิตย์และวันหยุดทำการไปรษณีย์
(พร้อมแจ้งรหัสติดตามสินค้าให้ลูกค้าทราบ)
http://track.thailandpost.co.th
(ตรวจสอบการจัดส่งสินค้าทางไปรษณีย์เฉพาะ EMS และ ลงทะเบียน) แก้ไขข้อมูลเมื่อ 28 Jun 19 06:48
อัตราส่วนการใช้ 2 - 3 ซีซี/น้ำ 20 ลิตร (ผสมน้ำได้ประมาณ 1,000 ลิตร)
ใช้สำหรับเพิ่มประสิทธิภาพของสารชีวภัณฑ์, สารกำจัดแมลง, สารป้องกันและกำจัดโรคพืช,
ธาตุอาหารเสริมที่ให้ทางใบ รวมถึงฮอร์โมนพืชต่างๆ (สารจับใบนี้ผลิตจากโพลีเมอร์ธรรมชาติไม่เป็นอันตรายต่อคนและสัตว์)
ประโยชน์ของสารจับใบ
1. ทำหน้าที่ลดแรงตึงผิวของสารละลายที่พ่น ทำให้สารละลายที่พ่นไปสัมผัสกับพื้นผิวของพืช และแมลงได้ง่ายขึ้น
2. ช่วยให้สารละลายที่ฉีดพ่นไปยึดเกาะกับพื้นผิวของพืชและแมลงได้ดีขึ้น ป้องกันไม่ให้สูญเสียสารละลายไปที่ฉีดพ่นไป อันเนื่องจากกระแสลม, การชะล้างของน้ำฝนหรือน้ำค้าง ทำให้ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการฉีดพ่นสารละลายต่างๆ เนื่องจากไม่ต้องฉีดพ่นซ้ำบ่อยๆ เวลาที่มีฝนตกชะล้าง
3. กระตุ้นการเจริญเติบโตของพืช กล่าวคือเมื่อ ฉีดพ่นสารเสริมประสิทธิภาพลงบนส่วนของใบพืชแล้วจะทำให้ฝุ่นละออง หรือสารกำจัดศัตรูพืชไม่ไปอุดตันปากใบของพืช จึงทำให้พืชสามารถสังเคราะห์แสงได้อย่างเต็มที่ สามารถเจริญเติบโตให้ผลผลิตได้อย่างสมบูรณ์
4. นอกจากจะทำหน้าที่เปียกใบและจับใบแล้ว ยังเพิ่มความสามารถของน้ำและสารละลายที่ฉีดพ่น ให้ซึมผ่านผิวใบไม้ ผิวของลำต้น หรือส่วนต่างๆ รวมถึงเปลือกหุ้มตัวของแมลงที่มีลักษณะเป็นเปลือกแข็งลื่น หรือแมลงที่มีลักษณะลำตัวเป็นแป้งที่ของเหลวเกาะติดได้ยาก ให้สามารถซึมผ่านหรือเกาะติดที่ตัวแมลงได้ดียิ่งขึ้น ทำให้การใช้งานสารชีวภัณฑ์ ในการป้องกัน-กำจัดโรคพืชและแมลง มีประสิทธิภาพสูงขึ้น และช่วยใช้ประหยัดสารละลายต่างๆนั้นด้วย เนื่องจากไม่ต้องฉีดพ่นซ้ำอยู่บ่อยๆ
5. ช่วยให้สารกำจัดศัตรูพืชกระจายตัวในน้ำได้ดี โดย ปกติแล้ว สารกำจัดศัตรูพืชชนิดที่มีน้ำมันเป็นตัวทำละลาย หรือสารกำจัดศัตรูพืชชนิดที่เป็นผง จะรวมตัวกับน้ำได้ไม่ดี อาจมีการแยกชั้น หรือเกาะกลุ่มเป็นตะกอนได้โดยง่าย แต่เมื่อผสมสารเสริมประสิทธิภาพ ซึ่งมีสามารถลดแรงตึงผิวของน้ำได้ (Non – ionic Serfactants) จะช่วยทำให้สารกำจัดแมลง และสารกำจัดโรคพืชไม่เกิดเป็นตะกอน หรือแยกตัวเป็นชั้น แต่จะมีการกระจายตัวในน้ำได้ดีและสม่ำเสมอ
6. ทำให้น้ำสามารถแทรกซึมผ่านชั้นดินที่แน่นทึบได้ดีขึ้น เพราะสารลดแรงตึงผิว (Non – ionic Serfactants) ทำให้ดินที่ปลูกพืชคลายความแน่นลง อนุภาคของเม็ดดินขนาดเล็ก แยกตัวออกจากกันไม่เกาะกันเป็นก้อนแข็ง น้ำจึงซึมผ่านลงไปสู่ดินชั้นล่างได้ง่าย และพืชสามารถหยั่งรากลึกลงดินและหาอาหารได้ดีขึ้น หรือแม้ในช่วงที่มีฝนตกหนัก น้ำฝนก็จะซึมผ่านลงดินได้เร็ว
7. เป็นโพลิเมอร์ที่ได้มาจากธรรมชาติ ไม่มีอันตรายต่อคน, สัตว์เลี้ยง อีกทั้งยังสามารถย่อยสลายได้เองตามธรรมชาติ จึงไม่เป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม จึงใช้ร่วมกับสารชีวภัณฑ์กำจัดโรคพืช และแมลงได้อย่างปลอดภัย
หมายเหตุ
น้ำยาล้างจาน, สบู่, แชมพู ฯลฯ ไม่ควรนำมาใช้เป็นสารจับใบและใช้ร่วมกับสารชีวภัณฑ์ เนื่องจากผลิตภัณฑ์เหล่านี้มจะผสมสารกำจัดเชื้อโรคต่างๆ ลงไปด้วย ซึ่งเคมีที่ผสมลงไปนั้นผลิตภัณฑ์เหล่านั้นจะมีผลทำให้ เชื้อราไตรโครเดอร์มา, เชื้อราบิวเวอร์เรีย, เชื้อราแมทธาไรเซียม, เชื้อบีที, จุลินทรีย์ EM หรือสารชีวภัณฑ์ชนิดต่างๆ ที่ใช้ในการป้องกัน-กำจัดโรคและแมลงในพืช เหล่านี้อ่อนแอ และตายลงได้ ทำให้การใช้งานสารชีวภัณฑ์ไม่ได้ผลเท่าที่ควร
ข้อจำกัดในการใช้สารจับใบ
1. ไม่ควรใช้กับผักที่มีนวล เช่น คะน้า, องุ่น เนื่องจากจะทำให้แป้งที่เกาะผิวของผัก, ผลไม้ นั้นหลุดไปทำให้ไม่สวยงาม
วิธีการสั่งซื้อ :
1. ลูกค้าส่งอีเมล์หรือโทรศัพท์สอบถามราคา (087-177-6447 คุณเอก)
2. แจ้งยอดชำระ (พร้อมวิธีจัดส่ง)
3. ลูกค้าเลือกวิธีการจัดส่ง พร้อมโอนเงินชำระค่าสินค้า+ค่าจัดส่ง
4. ลูกค้าแจ้งการชำระเงิน, ชื่อ-ที่อยู่และวิธีการจัดส่งให้ เซน ไฮโดรโพนิกส์ ทราบทาง
- คุณเอก 087-177-6447 หรือ [email protected]
5. จัดส่งสินค้าทุกวัน ยกเว้นวันอาทิตย์และวันหยุดทำการไปรษณีย์
(พร้อมแจ้งรหัสติดตามสินค้าให้ลูกค้าทราบ)
http://track.thailandpost.co.th
(ตรวจสอบการจัดส่งสินค้าทางไปรษณีย์เฉพาะ EMS และ ลงทะเบียน) แก้ไขข้อมูลเมื่อ 28 Jun 19 06:48
คำสำคัญ:
สารจับใบ