ชื่อสินค้า:
สาธร
รหัส:
191776
ประเภท:
ราคา:
30.00 บาท
/ต้น
ติดต่อ:
คุณชาตรี สร้อยมณี
ที่อยู่ร้าน:
อ.แก่งคอย จ.สระบุรี
ร้านนี้แจ้งเลขทะเบียนพานิชย์แล้ว
เปิดร้านมาแล้ว 12 ปี 1 เดือน
โทรศัพท์:
ปุ่มติดต่อ:
คำเตือน: โปรดตรวจสอบความน่าเชื่อถือของร้าน เพื่อหลีกเลี่ยงการทุจริต การขอชำระเงินปลายทางเมื่อรับสินค้าถือเป็นอีกหนึ่งวิธีที่ดี
รายละเอียด
สาธร เป็นพันธุ์ไม้พระราชทานเพื่อปลูกเป็นมงคลของจังหวัดนครราชสีมา
ชื่อวิทยาศาสตร์: Millettia leucantha Kurz
วงศ์: Leguminosa-Papilionoideae
ชื่ออื่น: ขะเจ๊าะ กะเซาะ ขะแมบ กระเจา ขะเจา
ลักษณะ: ไม้ต้นขนาดกลาง ผลัดใบ สูง 18 - 20 เมตร เรือนยอดกลมหรือทรงกระบอก
เปลือก: สีเทาเรียบหรือแตกเป็นสะเก็ดแล็ก ๆ ตื้น ๆ เนื้อไม้สีขาวอมน้ำตาล แก่นสีน้ำตาลอมดำ เรือนยอดเป็นพุ่มทึบ ใบอ่อนและยอดอ่อนมีขนยาวอ่อนนิ่มคล้ายเส้นไหมปกคลุมอยู่
ใบ: ประกอบรูปขนนกเรียงสลับ ใบย่อยติดเป็นคู่ตรงกันข้าม 3 - 5 คู่ ปลายสุดเป็นใบเดี่ยวแผ่นใบย่อย รูปรี กว้าง 3 - 5.5 เซนติเมตร ยาว 5 - 12 เซนติเมตร ปลายแหลม โคนมน ด้านล่างใบสีอ่อนกว่าด้านบน ใบแก่เกลี้ยง
ดอก: ดอกช่อ สีขาว แบบช่อกระจายแยกแขนง ยาวประมาณ 20 ซม. ออกพร้อมใบอ่อน รูปดอกถั่ว กลีบดอก 5 กลีบ กลีบเลี้ยง 4 กลีบติดกันเป็นหลอดสั้น ออกรวมกันเป็นช่อตามง่ามใบและปลายกิ่ง
ผล: เป็นฝักแบน รูปขอบขนานคล้ายฝักมีด มีเปลือกแข็ง กว้างประมาณ 2 เซนติเมตร ยาว 4 - 10 เซนติเมตร ฝักแก่แตกเป็น 2 ซีก ฝักหนึ่ง ๆ มี 1 - 3 เมล็ด เมล็ดสีน้ำตาล รูปร่างแบนคล้ายโล่ เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1.3 เซนติเมตร
นิเวศวิทยา: พบขึ้นในป่าเบญจพรรณใกล้แหล่งน้ำทั่ว ๆ ไป ในพื้นที่ที่สูงจากระดับน้ำทะเลไม่เกิน 600 เมตร
ออกดอก: มีนาคม - พฤษภาคม ฝักแก่ พฤษภาคม - สิงหาคม
ขยายพันธุ์: เพาะเมล็ด ควรนำเมล็ดแช่น้ำประมาณ 1 คืน ก่อนนำไปเพาะ เมล็ดงอกใช้เวลาประมาณ 10 - 15 วัน
ประโยชน์: เนื้อไม้และแก่นมีลักษณะสวยงามใช้ในการก่อสร้าง ใช้ทำเครื่องเรือน และด้ามเครื่องมือเครื่องใช้ เช่น เสาเรือน ขื่อ รอด เพลา เกวียน เครื่องนอน ครก สาก
ถิ่นกำเนิด: ในไทยทางภาคกลาง ภาคเหนือ ตะวันออกเฉียงเหนือ ต่างประเทศพบที่พม่าและลาว แก้ไขข้อมูลเมื่อ 13 Oct 20 12:33
ชื่อวิทยาศาสตร์: Millettia leucantha Kurz
วงศ์: Leguminosa-Papilionoideae
ชื่ออื่น: ขะเจ๊าะ กะเซาะ ขะแมบ กระเจา ขะเจา
ลักษณะ: ไม้ต้นขนาดกลาง ผลัดใบ สูง 18 - 20 เมตร เรือนยอดกลมหรือทรงกระบอก
เปลือก: สีเทาเรียบหรือแตกเป็นสะเก็ดแล็ก ๆ ตื้น ๆ เนื้อไม้สีขาวอมน้ำตาล แก่นสีน้ำตาลอมดำ เรือนยอดเป็นพุ่มทึบ ใบอ่อนและยอดอ่อนมีขนยาวอ่อนนิ่มคล้ายเส้นไหมปกคลุมอยู่
ใบ: ประกอบรูปขนนกเรียงสลับ ใบย่อยติดเป็นคู่ตรงกันข้าม 3 - 5 คู่ ปลายสุดเป็นใบเดี่ยวแผ่นใบย่อย รูปรี กว้าง 3 - 5.5 เซนติเมตร ยาว 5 - 12 เซนติเมตร ปลายแหลม โคนมน ด้านล่างใบสีอ่อนกว่าด้านบน ใบแก่เกลี้ยง
ดอก: ดอกช่อ สีขาว แบบช่อกระจายแยกแขนง ยาวประมาณ 20 ซม. ออกพร้อมใบอ่อน รูปดอกถั่ว กลีบดอก 5 กลีบ กลีบเลี้ยง 4 กลีบติดกันเป็นหลอดสั้น ออกรวมกันเป็นช่อตามง่ามใบและปลายกิ่ง
ผล: เป็นฝักแบน รูปขอบขนานคล้ายฝักมีด มีเปลือกแข็ง กว้างประมาณ 2 เซนติเมตร ยาว 4 - 10 เซนติเมตร ฝักแก่แตกเป็น 2 ซีก ฝักหนึ่ง ๆ มี 1 - 3 เมล็ด เมล็ดสีน้ำตาล รูปร่างแบนคล้ายโล่ เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1.3 เซนติเมตร
นิเวศวิทยา: พบขึ้นในป่าเบญจพรรณใกล้แหล่งน้ำทั่ว ๆ ไป ในพื้นที่ที่สูงจากระดับน้ำทะเลไม่เกิน 600 เมตร
ออกดอก: มีนาคม - พฤษภาคม ฝักแก่ พฤษภาคม - สิงหาคม
ขยายพันธุ์: เพาะเมล็ด ควรนำเมล็ดแช่น้ำประมาณ 1 คืน ก่อนนำไปเพาะ เมล็ดงอกใช้เวลาประมาณ 10 - 15 วัน
ประโยชน์: เนื้อไม้และแก่นมีลักษณะสวยงามใช้ในการก่อสร้าง ใช้ทำเครื่องเรือน และด้ามเครื่องมือเครื่องใช้ เช่น เสาเรือน ขื่อ รอด เพลา เกวียน เครื่องนอน ครก สาก
ถิ่นกำเนิด: ในไทยทางภาคกลาง ภาคเหนือ ตะวันออกเฉียงเหนือ ต่างประเทศพบที่พม่าและลาว แก้ไขข้อมูลเมื่อ 13 Oct 20 12:33
คำสำคัญ:
สาธร