ชื่อสินค้า:
ต้นพยอม
รหัส:
174388
ประเภท:
ราคา:
ไม่ระบุ
ติดต่อ:
คุณปฐมสิต วงศ์ชวลิต (แชมป์)
ที่อยู่ร้าน:
อ.เมืองลพบุรี จ.ลพบุรี
ร้านนี้ยังไม่มีการแจ้งเลขทะเบียนพานิชย์
เปิดร้านมาแล้ว 12 ปี 11 เดือน
โทรศัพท์:
ปุ่มติดต่อ:
คำเตือน: โปรดตรวจสอบความน่าเชื่อถือของร้าน เพื่อหลีกเลี่ยงการทุจริต การขอชำระเงินปลายทางเมื่อรับสินค้าถือเป็นอีกหนึ่งวิธีที่ดี
รายละเอียด
พะยอม
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา
พะยอม
สถานะการอนุรักษ์
ใกล้สูญพันธุ์ (IUCN 2.3)
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร:
Plantae
(unranked):
Angiosperms
(unranked):
Eudicots
(unranked):
Rosids
อันดับ:
Malvales
วงศ์:
Dipterocarpaceae
สกุล:
Shorea
สปีชีส์:
S. roxburghii
ชื่อวิทยาศาสตร์
Shorea roxburghii
G. Don
ชื่อพ้อง
Shorea talura Roxb.[1]
พะยอม เป็นไม้ยืนต้นประเภทใบเลี้ยงเดี่ยวชนิดหนึ่งที่อยู่ในวงศ์ Dipterocarpaceae พบได้ในกัมพูชา, อินเดีย, ลาว, มาเลเซีย, พม่า, ไทย, และ เวียดนาม มีลักษณะใบที่เรียงสลับกัน ดอกมีสีขาว กลิ่นหอม นิยมนำเนื้อไม้ไปใช้ในการก่อสร้าง ลักษณะคล้ายกับต้นตะเคียน
พะยอมมีชื่อพื้นเมืองอื่นๆอีกคือ กะยอม (เชียงใหม่) ชะยอม (ลาว)ขะยอมดงพะยอมดง (ภาคเหนือ) แคน (ร้อยเอ็ด) เชียง เชี่ยว (กะเหรี่ยง – เชียงใหม่ ) พะยอม (ภาคกลาง) พะยอมทอง (สุราษฎร์ธานี – ปราจีนบุรี) ยางหยวก (น่าน)[1]
เนื้อหา
[ซ่อน] 1 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
2 การกระจายพันธุ์และถิ่นอาศัย
3 ประโยชน์
4 เกร็ดความรู้
5 อ้างอิง
[แก้] ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
พะยอมเป็นไม้ต้นสูง 15 - 30 เมตร เปลือกสีเทาเข้มแตกเป็นร่อง ใบเดี่ยวออกสลับ รูปขอบขนานกว้าง 3.5 - 6.5 เซนติเมตร ยาว 8 - 15เซนติเมตร ปลายมนหรือเป็นติ่งสั้นๆ โคนมน ขอบเป็นคลื่นผิวเกลี้ยงเป็นมัน ดอกสีขาว กลิ่นหอมจัดออกเป็นช่อใหญ่ตามกิ่งและปลายกิ่ง กลีบเลี้ยง 5 กลีบ โคนเชื่อมติดกัน กลีบดอก 5 กลีบ เรียงเวียนกันแบบกังหันเมื่อบานเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 - 2 เซนติเมตร เกสร ตัวผู้ 15 อัน ผลรูปรีกว้างประมาณ 1 เซนติเมตร ยาวประมาณ 2 เซนติเมตร กลีบเลี้ยงเจริญไปเป็นปลีกยาว 3 ปลีกสั้น 2 ปลีกคล้ายผลยาง
[แก้] การกระจายพันธุ์และถิ่นอาศัย
พะยอมมีการกระจายพันธุ์ในอินเดียตะวันออก พม่า ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม และมาเลเซีย พบขึ้นทั่วไป แต่มักพบในป่าเบญจพรรณ และป่าดงดิบที่มีดินเป็นดินทราย
[แก้] ประโยชน์
เนื้อไม้ไปใช้ในการก่อสร้าง เช่น ใช้ทำหมอนรองรางรถไฟ พื้น เป็นต้น
มีสรรพคุณทางยา เปลือกต้น รสฝาด ต้มดื่มแก้ท้องร่วง แก้ลำไส้อักเสบ ฝนทาสมานบาดแผล ชำระแผลทุบใส่น้ำตาลสดกันบูด
ดอก รสหอมสุขุม ปรุงเป็นยาแก้ลม บำรุงหัวใจ ลดไข้
ดอกสามารถนำมาประกอบอาหารได้
ดอกพะยอม
[แก้] เกร็ดความรู้
ต้นพะยอมเป็นต้นไม้สำคัญของเส้นทางในอดีต จากสายโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ไปจนถึงวัดสวนดอก
ดอกพะยอมเป็นดอกไม้ประจำจังหวัดกาฬสินธุ์และจังหวัดพัทลุง
ต้นพะยอมเป็นต้นไม้ประจำโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ดอกพะยอมเป็นดอกไม้ประจำมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก
[แก้] อ้างอิง แก้ไขข้อมูลเมื่อ 19 Jul 14 09:07
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา
พะยอม
สถานะการอนุรักษ์
ใกล้สูญพันธุ์ (IUCN 2.3)
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร:
Plantae
(unranked):
Angiosperms
(unranked):
Eudicots
(unranked):
Rosids
อันดับ:
Malvales
วงศ์:
Dipterocarpaceae
สกุล:
Shorea
สปีชีส์:
S. roxburghii
ชื่อวิทยาศาสตร์
Shorea roxburghii
G. Don
ชื่อพ้อง
Shorea talura Roxb.[1]
พะยอม เป็นไม้ยืนต้นประเภทใบเลี้ยงเดี่ยวชนิดหนึ่งที่อยู่ในวงศ์ Dipterocarpaceae พบได้ในกัมพูชา, อินเดีย, ลาว, มาเลเซีย, พม่า, ไทย, และ เวียดนาม มีลักษณะใบที่เรียงสลับกัน ดอกมีสีขาว กลิ่นหอม นิยมนำเนื้อไม้ไปใช้ในการก่อสร้าง ลักษณะคล้ายกับต้นตะเคียน
พะยอมมีชื่อพื้นเมืองอื่นๆอีกคือ กะยอม (เชียงใหม่) ชะยอม (ลาว)ขะยอมดงพะยอมดง (ภาคเหนือ) แคน (ร้อยเอ็ด) เชียง เชี่ยว (กะเหรี่ยง – เชียงใหม่ ) พะยอม (ภาคกลาง) พะยอมทอง (สุราษฎร์ธานี – ปราจีนบุรี) ยางหยวก (น่าน)[1]
เนื้อหา
[ซ่อน] 1 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
2 การกระจายพันธุ์และถิ่นอาศัย
3 ประโยชน์
4 เกร็ดความรู้
5 อ้างอิง
[แก้] ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
พะยอมเป็นไม้ต้นสูง 15 - 30 เมตร เปลือกสีเทาเข้มแตกเป็นร่อง ใบเดี่ยวออกสลับ รูปขอบขนานกว้าง 3.5 - 6.5 เซนติเมตร ยาว 8 - 15เซนติเมตร ปลายมนหรือเป็นติ่งสั้นๆ โคนมน ขอบเป็นคลื่นผิวเกลี้ยงเป็นมัน ดอกสีขาว กลิ่นหอมจัดออกเป็นช่อใหญ่ตามกิ่งและปลายกิ่ง กลีบเลี้ยง 5 กลีบ โคนเชื่อมติดกัน กลีบดอก 5 กลีบ เรียงเวียนกันแบบกังหันเมื่อบานเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 - 2 เซนติเมตร เกสร ตัวผู้ 15 อัน ผลรูปรีกว้างประมาณ 1 เซนติเมตร ยาวประมาณ 2 เซนติเมตร กลีบเลี้ยงเจริญไปเป็นปลีกยาว 3 ปลีกสั้น 2 ปลีกคล้ายผลยาง
[แก้] การกระจายพันธุ์และถิ่นอาศัย
พะยอมมีการกระจายพันธุ์ในอินเดียตะวันออก พม่า ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม และมาเลเซีย พบขึ้นทั่วไป แต่มักพบในป่าเบญจพรรณ และป่าดงดิบที่มีดินเป็นดินทราย
[แก้] ประโยชน์
เนื้อไม้ไปใช้ในการก่อสร้าง เช่น ใช้ทำหมอนรองรางรถไฟ พื้น เป็นต้น
มีสรรพคุณทางยา เปลือกต้น รสฝาด ต้มดื่มแก้ท้องร่วง แก้ลำไส้อักเสบ ฝนทาสมานบาดแผล ชำระแผลทุบใส่น้ำตาลสดกันบูด
ดอก รสหอมสุขุม ปรุงเป็นยาแก้ลม บำรุงหัวใจ ลดไข้
ดอกสามารถนำมาประกอบอาหารได้
ดอกพะยอม
[แก้] เกร็ดความรู้
ต้นพะยอมเป็นต้นไม้สำคัญของเส้นทางในอดีต จากสายโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ไปจนถึงวัดสวนดอก
ดอกพะยอมเป็นดอกไม้ประจำจังหวัดกาฬสินธุ์และจังหวัดพัทลุง
ต้นพะยอมเป็นต้นไม้ประจำโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ดอกพะยอมเป็นดอกไม้ประจำมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก
[แก้] อ้างอิง แก้ไขข้อมูลเมื่อ 19 Jul 14 09:07
คำสำคัญ:
ต้นพยอม