ชื่อสินค้า:
รากปลาไหลเผือก,เมล็ดปลาไหลเผือก
รหัส:
155363
ประเภท:
ราคา:
5.00 บาท
ติดต่อ:
คุณเอก รังค์ว่าน
ที่อยู่ร้าน:
อ.เมืองตาก จ.ตาก
ร้านนี้แจ้งเลขทะเบียนพานิชย์แล้ว
เปิดร้านมาแล้ว 13 ปี 9 เดือน
โทรศัพท์:
ปุ่มติดต่อ:
คำเตือน: โปรดตรวจสอบความน่าเชื่อถือของร้าน เพื่อหลีกเลี่ยงการทุจริต การขอชำระเงินปลายทางเมื่อรับสินค้าถือเป็นอีกหนึ่งวิธีที่ดี
รายละเอียด
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Eurycoma longifolia Jack
ชื่ออื่น : คะนาง ขะนาง ไหลเผือก (ตราด) ตุงสอ แฮพันชั้น (ภาคเหนือ) หยิกปอถอง หยิกไม่ถึง เอียนดอย (ภาคอีสาน) เพียก (ภาคใต้) กรุงบาดาล (สุราษฎร์ธานี) ตรึงบาดาล (ปัตตานี) ตุวุเบ๊าะมิง ดูวุวอมิง (มลายู-นราธิวาส)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่มกึ่งไม้ต้นขนาดเล็ก สูงได้ถึง 10 เมตร ลำต้นตรง เปลือกต้นเรียบ สีน้ำตาลอมดำ แตกกิ่งก้านน้อย กิ่งอ่อนและยอดอ่อนมีขนปกคลุม ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนกปลายใบคู่ ออกเรียงสลับหนาแน่นที่ปลายยอด ใบย่อยมี 7-8 คู่ รูปใบหอกหรือรูปรี กว้าง 1.5-6.5 ซม. ยาว 5-20 ซม. ปลายใบเรียวแหลม โคนใบเบี้ยว ขอบใบเรียบ แผ่นใบเรียบสีเขียวเข้ม ดอก ออกเป็นช่อใหญ่ตามซอกใบ ดอกสีม่วงแดง ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.1 ซม. กลีบเลี้ยงโคนเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็น 5-6 แฉก กลีบดอกเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็น 5-6 กลีบ รูปไข่มีขน เป็นดอกสมบูรณ์เพศ ก้านช่อดอกสีแดง ผล รูปกลมรี กว้าง 0.5-1.2 ซม. ยาว 1-1.7 ซม. ออกเป็นพวง ผิวเรียบ ผลสดสีเขียว สุกเป็นสีแดง เมล็ดเดี่ยวต้นปลาไหลเผือกเป็นยาไม้รากเดียว ต้นปลาไหลเผือนกหรือโสมเทวดา หรือพญานาคราช มีความเชื่อว่าเป็นไม้มงคลที่หายาก และ เป็นสมุนไพรที่หมอสมุนไพรสมัยโบราณปิดเป็นความลับมาตลอด ผู้ที่รู้ก็เฉพาะหมอสมุนไพรไม่กี่คนที่ศึกษามาอยู่ในอาศรมฤาษีเท่านั้น เพราะต้นปลาไหลเผือกมีความเร้นลับมาก สมุนไพรทั้ง 4 ชื่อนี้ล้วนแต่มีฤทธิ์ทั้งนั้นซึ่งมีประวัติความเป็นมาในโบราณคดีของสมุนไพรหรือปลาไหลเผือก ในยุคต้นไม้เจริญ ต้นไม้ก็รับใช้ถือว่าเป็นยาสำหรับมนุษย์ให้หายจากโรคภัยได้อย่างไม่ต้องสงสัยพอยุคมนุษย์เจริญ ต้นไม้ก็ยังรับใช้มนุษย์เหมือนเดิม ต้นปลาไหลเผือกที่ว่านี้หมอสมุนไพรโบราณเคยเล่าว่า สามารถรักษาโรคได้ 108 โรค จะเท็จหรือจริงนั้นลองดูว่าคำโบราณผิดหรือถูก
สรรพคุณ : รากปลาไหลเผือก - รสขมจัด เบื่อเมาเล็กน้อย ถ่ายฝีในท้อง ถ่ายพิษต่างๆ ใช้เป็นยาแก้ไข้ ตัดไข้ทุกชนิด ใช้ผสมยาจันทลิ้นลา เป็นยาตำรับโบราณ ใช้รักษไข้ แก้อาการชักสารที่มีรสขมในรากปลาไหลเผือกคือ Eurycomalactone, Eurycomanol และ Eurycomanone ทั้งสามชนิดมีฤทธิ์ฆ่าเชื้อมาเลเรียฟาลซิปาลัม (Plasmodium falciparum) ในหลอดทดลอง จากการใช้ของหมอยาพื้นบ้านที่ใช้รากปลาไหลเผือกต้มกินแก้มาลาเรีย และในการศึกษาทดลองหลายการศึกษาพบว่า สารสกัดจากรากปลาไหลเผือกมีฤทธิ์ฆ่าเชื้อมาลาเรียในหลอดทดลอง ซึ่งสนับสนุนการใช้ประโยชน์จากปลาไหลเผือกของคนพื้นเมือง
สารสกัดรากปลาไหลเผือกมีฤทธิ์ในการต้านมะเร็ง ต้านเชื้อ HIV ในการตรวจสอบเบื้องต้น(Screening Test) สำหรับฤทธิ์การต้านมะเร็งพบว่า สารสกัดปลาไหลเผือกเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งปอด (Human lung cancer (A-549) cell lines) เป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งเต้านม (human breast cancer (MCF-7) cell lines) นอกจากนั้นยังมีฤทธิ์ต้านเชื้อ HIV อีกด้วย
สารสกัดรากปลาไหลเผือกมีฤทธิ์กระตุ้นการสร้างฮอร์โมนเพศชาย (Testosterone)
มีการศึกษาวิจัยพบว่า สารสกัดจากรากปลาไหลเผือกกระตุ้นการสร้างฮอร์โมนเพศชายซึ่งนำไปสู่การจดสิทธิบัตรสารเคมีและวิธีการสกัด โดยมีสรรพคุณในการเพิ่มกล้ามเนื้อและความแข็งแรงของนักกีฬา
สารสกัดสมุนไพรปลาไหลเผือกได้รับการจดสิทธิบัตรสหรัฐอเมริกา
จดสิทธิบัตรส่วนประกอบของสารสกัดจากพืชในการรักษาอาการหัวล้านในเพศชาย (Male pattern baldness) ในปี ๒๐๐๓ (พ.ศ. ๒๕๔๖)
จดสิทธิบัตรเป็นยาทาภายนอกในลักษณะ Topical home opathic composition ในการเพิ่มระดับของฮอร์โมนเพศชาย Testosterone และฮอร์โมนเร่งการเจริญเติบโต (Growth hormone) ในปี ๒๐๐๓ (พ.ศ. ๒๕๔๖)
จดสิทธิบัตรสารเคมีที่มีฤทธิ์ในการกระตุ้นการสร้างฮอร์โมนเพศชาย ในปี ๒๐๐๔ (พ.ศ. ๒๕๔๗)
จดสิทธิบัตรส่วนประกอบและวิธีการในการเพิ่มกล้ามเนื้อและความแข็งแรง เพิ่มสมรรถภาพของนักกีฬา ลดไขมันและนำไปสู่การลดน้ำหนักในปี ๒๐๐๖ (พ.ศ. ๒๕๔๙)
จดสิทธิบัตรในการเป็นยาเพิ่มสมรรถภาพทางเพศในรูปแบบของยาเม็ดและยาแคปซูล ในประเทศสหรัฐอเมริกาโดยมีส่วนประกอบของสารสกัดปลาไหลเผือกร่วมกับตัวอื่น ในปี ๒๐๐๖ (พ.ศ. ๒๕๔๙)
จดสิทธิบัตรการปรับระดับฮอร์โมนเพศชาย (Systemic androgen) ด้วยการใช้ปลาไหลเผือก ในปี ๒๐๐๗(พ.ศ. ๒๕๕๐)
สรรพคุณในทางรักษา-วิธี โรคตับ, โรคปอด, โรคเลือด, น้ำเหลืองไม่ดี, ตกขาว, ประจำเดือนดำ, เหนื่อย, เวียนหัว, โรคเบาหวาน, ประดงต่างๆ, ริดสีดวง, เส้นเอ็นอักเสบ, ปวดหลัง, ปวดเอว, หัวเข่า, ข้อ, ภูมิแพ้, หอบหืด, เท้าชา, มือชา, เกร็ดเงิน, ขับสารพิษ, ความดันโลหิตสูง, ไมเกรน, ประจำเดือน, อัมพฤกเริ่มแรก, มะเร็งเริ่มแรก, ฝีภายใน, TB ชนิดบวม, ประดงต่างๆ
แก้ไขข้อมูลเมื่อ 15 Nov 15 10:23
ชื่ออื่น : คะนาง ขะนาง ไหลเผือก (ตราด) ตุงสอ แฮพันชั้น (ภาคเหนือ) หยิกปอถอง หยิกไม่ถึง เอียนดอย (ภาคอีสาน) เพียก (ภาคใต้) กรุงบาดาล (สุราษฎร์ธานี) ตรึงบาดาล (ปัตตานี) ตุวุเบ๊าะมิง ดูวุวอมิง (มลายู-นราธิวาส)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่มกึ่งไม้ต้นขนาดเล็ก สูงได้ถึง 10 เมตร ลำต้นตรง เปลือกต้นเรียบ สีน้ำตาลอมดำ แตกกิ่งก้านน้อย กิ่งอ่อนและยอดอ่อนมีขนปกคลุม ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนกปลายใบคู่ ออกเรียงสลับหนาแน่นที่ปลายยอด ใบย่อยมี 7-8 คู่ รูปใบหอกหรือรูปรี กว้าง 1.5-6.5 ซม. ยาว 5-20 ซม. ปลายใบเรียวแหลม โคนใบเบี้ยว ขอบใบเรียบ แผ่นใบเรียบสีเขียวเข้ม ดอก ออกเป็นช่อใหญ่ตามซอกใบ ดอกสีม่วงแดง ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.1 ซม. กลีบเลี้ยงโคนเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็น 5-6 แฉก กลีบดอกเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็น 5-6 กลีบ รูปไข่มีขน เป็นดอกสมบูรณ์เพศ ก้านช่อดอกสีแดง ผล รูปกลมรี กว้าง 0.5-1.2 ซม. ยาว 1-1.7 ซม. ออกเป็นพวง ผิวเรียบ ผลสดสีเขียว สุกเป็นสีแดง เมล็ดเดี่ยวต้นปลาไหลเผือกเป็นยาไม้รากเดียว ต้นปลาไหลเผือนกหรือโสมเทวดา หรือพญานาคราช มีความเชื่อว่าเป็นไม้มงคลที่หายาก และ เป็นสมุนไพรที่หมอสมุนไพรสมัยโบราณปิดเป็นความลับมาตลอด ผู้ที่รู้ก็เฉพาะหมอสมุนไพรไม่กี่คนที่ศึกษามาอยู่ในอาศรมฤาษีเท่านั้น เพราะต้นปลาไหลเผือกมีความเร้นลับมาก สมุนไพรทั้ง 4 ชื่อนี้ล้วนแต่มีฤทธิ์ทั้งนั้นซึ่งมีประวัติความเป็นมาในโบราณคดีของสมุนไพรหรือปลาไหลเผือก ในยุคต้นไม้เจริญ ต้นไม้ก็รับใช้ถือว่าเป็นยาสำหรับมนุษย์ให้หายจากโรคภัยได้อย่างไม่ต้องสงสัยพอยุคมนุษย์เจริญ ต้นไม้ก็ยังรับใช้มนุษย์เหมือนเดิม ต้นปลาไหลเผือกที่ว่านี้หมอสมุนไพรโบราณเคยเล่าว่า สามารถรักษาโรคได้ 108 โรค จะเท็จหรือจริงนั้นลองดูว่าคำโบราณผิดหรือถูก
สรรพคุณ : รากปลาไหลเผือก - รสขมจัด เบื่อเมาเล็กน้อย ถ่ายฝีในท้อง ถ่ายพิษต่างๆ ใช้เป็นยาแก้ไข้ ตัดไข้ทุกชนิด ใช้ผสมยาจันทลิ้นลา เป็นยาตำรับโบราณ ใช้รักษไข้ แก้อาการชักสารที่มีรสขมในรากปลาไหลเผือกคือ Eurycomalactone, Eurycomanol และ Eurycomanone ทั้งสามชนิดมีฤทธิ์ฆ่าเชื้อมาเลเรียฟาลซิปาลัม (Plasmodium falciparum) ในหลอดทดลอง จากการใช้ของหมอยาพื้นบ้านที่ใช้รากปลาไหลเผือกต้มกินแก้มาลาเรีย และในการศึกษาทดลองหลายการศึกษาพบว่า สารสกัดจากรากปลาไหลเผือกมีฤทธิ์ฆ่าเชื้อมาลาเรียในหลอดทดลอง ซึ่งสนับสนุนการใช้ประโยชน์จากปลาไหลเผือกของคนพื้นเมือง
สารสกัดรากปลาไหลเผือกมีฤทธิ์ในการต้านมะเร็ง ต้านเชื้อ HIV ในการตรวจสอบเบื้องต้น(Screening Test) สำหรับฤทธิ์การต้านมะเร็งพบว่า สารสกัดปลาไหลเผือกเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งปอด (Human lung cancer (A-549) cell lines) เป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งเต้านม (human breast cancer (MCF-7) cell lines) นอกจากนั้นยังมีฤทธิ์ต้านเชื้อ HIV อีกด้วย
สารสกัดรากปลาไหลเผือกมีฤทธิ์กระตุ้นการสร้างฮอร์โมนเพศชาย (Testosterone)
มีการศึกษาวิจัยพบว่า สารสกัดจากรากปลาไหลเผือกกระตุ้นการสร้างฮอร์โมนเพศชายซึ่งนำไปสู่การจดสิทธิบัตรสารเคมีและวิธีการสกัด โดยมีสรรพคุณในการเพิ่มกล้ามเนื้อและความแข็งแรงของนักกีฬา
สารสกัดสมุนไพรปลาไหลเผือกได้รับการจดสิทธิบัตรสหรัฐอเมริกา
จดสิทธิบัตรส่วนประกอบของสารสกัดจากพืชในการรักษาอาการหัวล้านในเพศชาย (Male pattern baldness) ในปี ๒๐๐๓ (พ.ศ. ๒๕๔๖)
จดสิทธิบัตรเป็นยาทาภายนอกในลักษณะ Topical home opathic composition ในการเพิ่มระดับของฮอร์โมนเพศชาย Testosterone และฮอร์โมนเร่งการเจริญเติบโต (Growth hormone) ในปี ๒๐๐๓ (พ.ศ. ๒๕๔๖)
จดสิทธิบัตรสารเคมีที่มีฤทธิ์ในการกระตุ้นการสร้างฮอร์โมนเพศชาย ในปี ๒๐๐๔ (พ.ศ. ๒๕๔๗)
จดสิทธิบัตรส่วนประกอบและวิธีการในการเพิ่มกล้ามเนื้อและความแข็งแรง เพิ่มสมรรถภาพของนักกีฬา ลดไขมันและนำไปสู่การลดน้ำหนักในปี ๒๐๐๖ (พ.ศ. ๒๕๔๙)
จดสิทธิบัตรในการเป็นยาเพิ่มสมรรถภาพทางเพศในรูปแบบของยาเม็ดและยาแคปซูล ในประเทศสหรัฐอเมริกาโดยมีส่วนประกอบของสารสกัดปลาไหลเผือกร่วมกับตัวอื่น ในปี ๒๐๐๖ (พ.ศ. ๒๕๔๙)
จดสิทธิบัตรการปรับระดับฮอร์โมนเพศชาย (Systemic androgen) ด้วยการใช้ปลาไหลเผือก ในปี ๒๐๐๗(พ.ศ. ๒๕๕๐)
สรรพคุณในทางรักษา-วิธี โรคตับ, โรคปอด, โรคเลือด, น้ำเหลืองไม่ดี, ตกขาว, ประจำเดือนดำ, เหนื่อย, เวียนหัว, โรคเบาหวาน, ประดงต่างๆ, ริดสีดวง, เส้นเอ็นอักเสบ, ปวดหลัง, ปวดเอว, หัวเข่า, ข้อ, ภูมิแพ้, หอบหืด, เท้าชา, มือชา, เกร็ดเงิน, ขับสารพิษ, ความดันโลหิตสูง, ไมเกรน, ประจำเดือน, อัมพฤกเริ่มแรก, มะเร็งเริ่มแรก, ฝีภายใน, TB ชนิดบวม, ประดงต่างๆ
แก้ไขข้อมูลเมื่อ 15 Nov 15 10:23
คำสำคัญ:
ปลาไหลเผือก
ว่านปลาไหลเผือก