ชื่อสินค้า:
ส้มเสี้ยว
รหัส:
154609
ประเภท:
ราคา:
200.00 บาท
/ต้น
ติดต่อ:
คุณปุณณภา งานสำเร็จ
ที่อยู่ร้าน:
อ.เมืองนครราชสีมา จ.นครราชสีมา
ร้านนี้ยังไม่มีการแจ้งเลขทะเบียนพานิชย์
เปิดร้านมาแล้ว 14 ปี 2 เดือน
ไอดีไลน์:
โทรศัพท์:
คำเตือน: โปรดตรวจสอบความน่าเชื่อถือของร้าน เพื่อหลีกเลี่ยงการทุจริต การขอชำระเงินปลายทางเมื่อรับสินค้าถือเป็นอีกหนึ่งวิธีที่ดี
รายละเอียด
ต้นส้มเสี้ยว ต้นปลูก ความสูง 30-60 ซม. น้ำหนักถุงเพาะ 0.5-1กก/ถุง ส่งสินค้าแบบอีเอมเอส ค่าส่งต้นไม้ 1-4 ต้น/กล่อง/ ค่าส่ง100 บาท
ส้มเสี้ยว
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Bauhinia malabarica roxb.
วงศ์ : LEGUMINOSAE-CAESALPINIODIDEAE
ชื่ออื่น : คังโค (สุพรรณบุรี) แดงโค (สระบุรี) ป้าม (ส่วย-สุรินทร์) ส้มเสี้ยว (ภาคเหนือ) เสี้ยวส้ม (นครราชสึมา) เสี้ยวใหญ่ (ปราจีนบุรี)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้นขนาดกลาง สูงถึง 15 เมตร เปลือกต้นสีเทา เปลือกแตกเป็นสะเก็ดยาวตามลำต้น ใบ ทรงกลมเว้า ปลายเป็นพูกลมตื้นๆ ใบแก่เหนียว เรียบ ท้องใบมีนวล สีเขียวออกเทา ดอก ออกดอกเป็นช่อตามซอกใบหรือตามง่ามใบ สีขาวออกเขียวหรือเหลืองอ่อน เป็นช่อเล็กๆ ออกดอกเดือน พฤษภาคม - มิถุนายน ผล เป็นฝักแบนยาว โค้งงอ ฝักอ่อนสีเขียว ฝักแก่แห้งสีน้ำตาล เมล็ดแบน ผิวเรียบมัน มี 8-12 เมล็ด ออกผลเดือนกรกฏาคม - กันยายน แหล่งที่พบ ป่าเต็งรัง
ลักษณะพิเศษของ
ส้มเสี้ยวใบจะออกรสเปรี้ยวเล็กน้อยคล้ายกับส้มป่อย
ส่วนที่ใช้ : ใบ เปลือกต้น
สรรพคุณ :
ใบ
- มีรสเปรี้ยวฝาด เป็นยาขับโลหิตระดู และขับปัสสาวะ
- แก้แผลเปื่อยพัง
เปลือกต้น - รสเปรี้ยวฝาด แก้ไอ ฟอกโลหิต
เอาใบส้มเสี้ยวมาต้มเป็นยา ดื่มแก้ท้องผูกระบายท้องได้ดี เป็นยาขับปัสสาวะ
ขับเมือกที่ปนอยู่กับอุจจาระออกไป หรือนำเอาไปใช้กับยาบำรุงโลหิตระดูที่ออกมา
เป็นก้อนๆ มีกลิ่นเหม็นเพื่อให้หายไปและเป็นปกติในที่สุด สำหรับเปลือกส้มเสี้ยวก็เอามา
ต้มเคี่ยวใช้ดื่มเป็นยาแก้อาการไอ และทำให้โลหิตดีไหลเวียนเป็นปกติ
หมอยาแผนไทยในยุคสมัยนั้นมีวิธีรักษาคือ ให้เอาใบ “ส้มเสี้ยว” เป็น หลักกับ ใบส้มป่อย ใบมะขาม ใบมะขามแขก ผลสมอไทยแบบสด กับเข้าเย็นเหนือ เข้าเย็นใต้ และยาดำ (3 ชนิดหลังมีขายตามร้านยาแผนไทย) จำนวนเท่ากัน อย่างละ 15 กรัม ต้มกับน้ำ 3 ส่วน กะเอาเองจนเดือดเคี่ยวเหลือ 1 ส่วน ดื่มตอนอุ่นครั้งละ 2-3 ช้อนโต๊ะ 2 เวลา เช้า-เย็น ก่อนหรือหลังอาหารก็ได้ ถ้าเป็นเด็กให้ลดสัดส่วนลงตามสมควร ดื่มได้เรื่อยๆจนกว่าอาการจะหาย และยังช่วยชำระเมือกในลำไส้ ละลายเสมหะ และสิวที่ขึ้นเขรอะจะค่อยๆดีขึ้นและหายได้เช่นกัน
ใบแก่ต้มน้ำอาบแก้ผื่นคันตามตัวดีมาก ทางอาหาร ใบอ่อนกินเป็นผักสด ใส่ต้มปลา ต้มเนื้อ อร่อยมาก ผล กินได้รสฝาดปนเปรี้ยว แก้ไขข้อมูลเมื่อ 28 Sep 20 05:28
ส้มเสี้ยว
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Bauhinia malabarica roxb.
วงศ์ : LEGUMINOSAE-CAESALPINIODIDEAE
ชื่ออื่น : คังโค (สุพรรณบุรี) แดงโค (สระบุรี) ป้าม (ส่วย-สุรินทร์) ส้มเสี้ยว (ภาคเหนือ) เสี้ยวส้ม (นครราชสึมา) เสี้ยวใหญ่ (ปราจีนบุรี)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้นขนาดกลาง สูงถึง 15 เมตร เปลือกต้นสีเทา เปลือกแตกเป็นสะเก็ดยาวตามลำต้น ใบ ทรงกลมเว้า ปลายเป็นพูกลมตื้นๆ ใบแก่เหนียว เรียบ ท้องใบมีนวล สีเขียวออกเทา ดอก ออกดอกเป็นช่อตามซอกใบหรือตามง่ามใบ สีขาวออกเขียวหรือเหลืองอ่อน เป็นช่อเล็กๆ ออกดอกเดือน พฤษภาคม - มิถุนายน ผล เป็นฝักแบนยาว โค้งงอ ฝักอ่อนสีเขียว ฝักแก่แห้งสีน้ำตาล เมล็ดแบน ผิวเรียบมัน มี 8-12 เมล็ด ออกผลเดือนกรกฏาคม - กันยายน แหล่งที่พบ ป่าเต็งรัง
ลักษณะพิเศษของ
ส้มเสี้ยวใบจะออกรสเปรี้ยวเล็กน้อยคล้ายกับส้มป่อย
ส่วนที่ใช้ : ใบ เปลือกต้น
สรรพคุณ :
ใบ
- มีรสเปรี้ยวฝาด เป็นยาขับโลหิตระดู และขับปัสสาวะ
- แก้แผลเปื่อยพัง
เปลือกต้น - รสเปรี้ยวฝาด แก้ไอ ฟอกโลหิต
เอาใบส้มเสี้ยวมาต้มเป็นยา ดื่มแก้ท้องผูกระบายท้องได้ดี เป็นยาขับปัสสาวะ
ขับเมือกที่ปนอยู่กับอุจจาระออกไป หรือนำเอาไปใช้กับยาบำรุงโลหิตระดูที่ออกมา
เป็นก้อนๆ มีกลิ่นเหม็นเพื่อให้หายไปและเป็นปกติในที่สุด สำหรับเปลือกส้มเสี้ยวก็เอามา
ต้มเคี่ยวใช้ดื่มเป็นยาแก้อาการไอ และทำให้โลหิตดีไหลเวียนเป็นปกติ
หมอยาแผนไทยในยุคสมัยนั้นมีวิธีรักษาคือ ให้เอาใบ “ส้มเสี้ยว” เป็น หลักกับ ใบส้มป่อย ใบมะขาม ใบมะขามแขก ผลสมอไทยแบบสด กับเข้าเย็นเหนือ เข้าเย็นใต้ และยาดำ (3 ชนิดหลังมีขายตามร้านยาแผนไทย) จำนวนเท่ากัน อย่างละ 15 กรัม ต้มกับน้ำ 3 ส่วน กะเอาเองจนเดือดเคี่ยวเหลือ 1 ส่วน ดื่มตอนอุ่นครั้งละ 2-3 ช้อนโต๊ะ 2 เวลา เช้า-เย็น ก่อนหรือหลังอาหารก็ได้ ถ้าเป็นเด็กให้ลดสัดส่วนลงตามสมควร ดื่มได้เรื่อยๆจนกว่าอาการจะหาย และยังช่วยชำระเมือกในลำไส้ ละลายเสมหะ และสิวที่ขึ้นเขรอะจะค่อยๆดีขึ้นและหายได้เช่นกัน
ใบแก่ต้มน้ำอาบแก้ผื่นคันตามตัวดีมาก ทางอาหาร ใบอ่อนกินเป็นผักสด ใส่ต้มปลา ต้มเนื้อ อร่อยมาก ผล กินได้รสฝาดปนเปรี้ยว แก้ไขข้อมูลเมื่อ 28 Sep 20 05:28
คำสำคัญ:
ส้มเสี้ยว
พันธุ์ไม้หายาก