ชื่อสินค้า:
ขลู่
รหัส:
152509
ประเภท:
ราคา:
50.00 บาท
/ต้น
ติดต่อ:
คุณ ชาญชัย เจริญราษฎร์
ที่อยู่ร้าน:
อ.เมืองปราจีนบุรี จ.ปราจีนบุรี
ร้านนี้ยังไม่มีการแจ้งเลขทะเบียนพานิชย์
เปิดร้านมาแล้ว 13 ปี 8 เดือน
ไอดีไลน์:
โทรศัพท์:
คำเตือน: โปรดตรวจสอบความน่าเชื่อถือของร้าน เพื่อหลีกเลี่ยงการทุจริต การขอชำระเงินปลายทางเมื่อรับสินค้าถือเป็นอีกหนึ่งวิธีที่ดี
รายละเอียด
ขลู่ Pluchea indica Less.
ชื่อวิทยาศาสตร์ Pluchea indica Less.
วงศ์ COMPOSITAE
ชื่อท้องถิ่น หนวดงิ้ว หนวดงั่ว หนวดวัว (อุดรธานี) ขี้ป้าน (แม่ฮ่องสอน) คลู (ใต้)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ขลู่เป็นไม่พุ่มสูง 0.5 - 2 เมตร ยอดและใบอ่อนมีขนอ่อนอยู่ทั่วไป ใบติดตามข้อสลับกัน ก้านใบสั้น ใบรูปไข่หัวกลับ ขอบในหยักและมีขนาดกว้างประมาณ 1 - 5 เซนติเมตร ยาวประมาณ 2 - 9 เซนติเมตร ประกอบด้วยดอกย่อยจำนวนมาก มีทั้งดอกตัวผู้และดอกตัวเมีย สีขาวอมม่วงขนาดเล็ก ขลู่เป็นพืชที่ชอบขึ้นตามธารน้ำโดยเฉพาะที่น้ำเค็มขึ้นถึง พบทั่วไปในเขตร้อน เช่น ประเทศอินเดีย จีน ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย ไทย เป็นต้น เป็นพืชที่ปลูกง่าย โดยใช้กิ่งแก่ปักชำ ขึ้นได้ในดินแทบทุกชนิด
ส่วนที่ใช้เป็นยา ใช้ส่วนของต้นที่อยู่เหนือดินทั้งสดและแห้ง (นิยมใชเฉพาะใบ)
ช่วงเวลาที่เก็บเป็นยา เก็บได้ตลอดปี
รสและสรรพคุณยาไทย สรรพคุณขับปัสสาวะ แก้ปัสสาวะพิการ แพทย์ไทยโบราณนิยมใช่ขลู่ชงให้ผู้ป่วยรับประทาน ลดอาการบวม และลดน้ำหนักตัว
สรรพคุณและการนำไปใช้เป็นยาสมุนไพรสำหรับงานสาธารณสุขมูลฐาน
ใช้เป็นยารักษาอาการขัดเบา วันละ 1 กำมือ (สดหนัก 40 - 50 กรัม แห้งหนัก 15 - 20 กรัม) หั่นเป็นชิ้น ๆ ต้มกับน้ำดื่ม วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหารครั้งละ 1 ถ้วยชา (หรือ 75 มิลลิลิตร)
สารที่พบ
ใบขลู่ประกอบด้วยสารประเภทเกลือแร่ เช่น โซเดียม คลอไรด์ สารโปแตสเซียม นอกจากนี้ยังประกอบด้วย stigmasterol (+ beta-sitosterol), stigmasterol glucoside (+ beta-sitosterol glucoside), catechin เป็นต้น
ข้อมูลทางเภสัชวิทยาอื่น ๆ
ฤทธิ์ขับปัสสาวะ นัทพร นิลวิเศษ และคณะได้ศึกษาฤทธิ์ขับปัสสาวะของขลู่ พบว่ารูปแบบ 5% และ 10% ของยาชงขลู่ (ยาชง 5% ทำได้โดยชั่งขลู่ 5 กรัม ใส่ลงในภาชนะแก้วหรือเคลือบที่ทนความร้อนได้ รินน้ำเดือดลงไปประมาณ 100 มิลลิลิตร ปิดฝาตั้งทิ้งไว้ประมาณครึ่งชั่วโมง จึงรินและคั้นน้ำออกกรองให้ได้น้ำยา 100 มิลลิลิตร) ทดลองฤทธิ์ขับปัสสาวะในหนูขาว และในอาสาสมัครที่มีสุขภาพปกติ โดยเปรียบเทียบกับยา hydrochlorothiazide พบว่ายาชงขลู่มีผลเพิ่มปริมาณปัสสาวะ และถ้าเพิ่มปริมาณความเข้มข้นก็จะมีผลเพิ่มปริมาณปัสสาวะมากขึ้น
ฤทธิ์ต้านการอักเสบ Sen T. และคณะ (ค.ศ. 1991) ได้ทำการศึกษาฤทธิ์ต้านการอักเสบ (antiinflammatory) ของสารสกัดจากรากขลู่ พบว่าสารสกัดจากรากขลู่สามารถต้านการอักเสบได้ โดยสามารถยับยั้งอาการบวมของอุ้งเท้าหนูที่เกิดจากการฉีด carragenin, histamine, serotonin, hyaluronidase และ sodium urate โดยสารสกัดจะยับยั้งกระบวนการที่โปรตีนลอดออกจากหลอดเลือด (exudation) และการเคลื่อนที่ของเม็ดเลือดขาวไปยังบริเวณอักเสบ (leucocyte migration)
ฤทธิ์ต้านการอักเสบ Sen T. และคณะ (ค.ศ. 1993) ได้ทำการศึกษากลไกการต้านการอักเสบ และการต้านการเกิดแผลในกรเพาะอาหาร ของสารสกัดจากรากขลู่ ( Pluchea indica Less root extract: PIRE) ที่คาดว่ามีกลไกเกี่ยวข้องกับ 5- lipoxygenase pathway ซึ่งเป็นกระบวนการสังเคราะห์โพรสตาแกลนดิน ( prostaglandin) ผลการศึกษาพบว่า PIRE สามารถต้านการอักเสบที่เกิดจาก arachidonic acid, platelet activation factor และสารประกอบ 48/80 ซึ่งเหนี่ยวนำให้เกิดการบวมที่อุ้งเท้าสัตว์ได้อย่างมีนัยสำคัญ นอกจากนี้สามารถยับยั้งสารประกอบ 48/80 เหนี่ยวนำให้เกิดการหลั่งสาร ฮีสตามีน ( histamine) จาก Mast cell ได้อย่างมีนัยสำคัญ ส่วนผลต่อการเกิดแผลในกระเพราะอาหาร พบว่าสามารถป้องกับการเกิดแผลจากยา indomethacin, เหล้า และ indomethacin ได้อย่างมีนัยสำคัญ โดยสามารถลดปริมา๖และความเป็นกรดของกระเพาะอาหารได้อย่างมีนัยสำคัญ
ฤทธิ์การปกป้องตับ Sen T. และคณะ (ค.ศ. 1993) ได้ทำการศึกษาฤทธิ์การปกป้องตับของสารสกัดจากขลู่ ในหนูที่ตับบาดเจ็บเฉียบพลัน (acute liver damage) จากการเหนี่ยวนำของสาร คาร์บอนเตตระคลอไรด์ (carbontetrachloride: CCl4) พบว่าสามารถลดระดับเอนไซม์ aspartate amino tranferase (AST), alanine amino tranferase (ALT), lactate dehydrogenase (LDH), serum alkaline phosphatase (ALP) และ bilirubin ได้อย่างมีนัยสำคัญ นอกจากนี้สารสกัดจากขลู่สามารถลดระยะเวลาการนอนหลับของหนูที่ได้รับ pentobarbitone ได้อย่างมีนัยสำคัญ และลด plasma prothrombin time ได้อย่างมีนัยสำคัญ เมื่อเทียบกับกลุ่มที่ได้รับ CCl4
ฤทธิ์ป้องกันทางเดินอาหารบาดเจ็บ Sen T. และคณะ (ค.ศ. 1996) ได้ทำการศึกษาฤทธิ์สารสกัดจากขลู่ ในการยับยั้งปัจจัยกระตุ้นเกร็ดเลือด (platelet activation factor: PAF) และยับยั้งการเกิดกระเพาะอาหารเสียหาย (gastric demage) พบว่าการให้สารสกัดจากขลู่สามารถยับยั้งการอักเสบและอุบัติการเกิดกับทางเดินอาหารส่วนล่างเสียหายได้ อย่างมีนัยสำคัญ
ฤทธิ์ต่อระบบประสาท Thongpraditchote S. และคณะ (ค.ศ. 1996) ได้ทำการศึกษาฤทธิ์ของสารสกัดจากรากขลู่ (Pluchea indica Less root extract: PI-E) ต่อระบบประสาทในหนู พบว่าหนูที่ได้รับ PI-E ขนาด 50-100 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ให้โดยการกิน มีการทำงานของระบบประสาทควบคุมการเคลื่อนที่ (locomotor) ทำงานเพิ่มขึ้น และลดระยะเวลาการนอนหลับของหนูที่ได้รับ pentobarbital ให้สั้นลง อย่างมีนัยสำคัญและขึ้นกับขนาดที่ได้รับ (dose dependent) นอกจากนี้พบว่าฤทธิ์ของ PI-E ที่ให้ในหนูที่ได้รับ pentobarbital จะลดลงเมื่อได้รับ flumazenil (1 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ให้ทางหลอดเลือดดำ) อย่างมีนัยสำคัญ และ PI-E (50 - 100 มิลลิกรัม/กิโลกรัม) และ diazepam (0.5-5 มิลลิกรัม/กิโลกรัม) สามารถลดพฤติกรรมก้าวร้าวได้ตามขาดที่ได้รับ (dose dependent) โดยกลไกการออกฤทธิ์ของ PI-E เกี่ยวข้องกับระบบ GABA system ในสมอง แต่อย่างไรก็ตาม PI-E ไม่มีฤทธิ์ระงับการชักที่เกิดจากการเหนี่ยวนำของ pentyleneterazole
ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ Sen T. และคณะ (ค.ศ. 2002) ได้ทำการศึกษาฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระจากสารสกัดจากรากขลู่ ( Pluchea indica Less root extract: PIRE) ในหลอดทดลองและสัตว์ โดยใช้ คาร์บอนเตตระคลอไรด์ ( carbontetrachloride: CCl4) เหนี่ยวนำให้เกิดกระบวนการสลายไปมัน ( lipid peroxidation) และการเปลี่ยนแปลง arachidonic acid จากเอนไซม์ lipoxygenase ซึ่ง 2 กระบวนการนี้ก่อให้เกิดอนุมูลอิสระขึ้น ผลการศึกษาพบว่า PIRE สามารถลดการอักเสบ และการสลายตัวของเม็ดเลือดแดงอย่างมีนัยสำคัญ นอกจากนี้พบว่า PIRE นอกจากนี้พบว่า PIRE สามารถกำจัดอนุมูลอิสระได้มากกว่า B755c และ phenidone (สารต้านอนุมูลอิสระ) ได้อย่างมีนัยสำคัญ
ฤทธิ์ยับยั้งจุลชีพ Biswas R. และคณะ (ค.ศ. 2005) ได้ทำการสกัด และประเมินสารประกอบที่พบในขลู่ และความแรงในการต้านเชื้อจุลชีพ พบว่าค่าความเข้มข้นต่ำสุดที่สามารถยับยั้งเชื้อได้ ( minimum inhibitory concentration: MIC) ของสารสกัดขลู่ต่อเชื้อ Staphylococcus aureus ML 11, S. aureus ML 358, S. aureus NCTC 6571, S. aureus 8530, Salmonella trphi 59, S. typhimurium NCTC 74, Shigella boydii 8 NCTC 254/66, S. dysenteriae 7 NCTC 519/66, Vibrio cholerae 214, Vibrio cholerae 14033, Bacillus lichenniformis, Escherichia coli ATCC 25938, Klebsiella pneumoniae 725, K. pneumoniae 10031 และ Pseudomonas aeruginosa 71 คือ 1500 , 2000, > 2000, 1000, 1500, 1500, 1500, 1500, 1000, 1500, > 2000, 1500, > 2000, 2000 และ 2000 นาโนกรัม/มิลลิลิตร
หัวพันธุ์:เหง้าพันธุ์:รับสั่งซื้อตั้งแต่ 200 บาทขึ้นไปครับ(ไม่รววมค่าส่ง) กรุณา Emailหรือ โทร
สอบถามราคาและสินค้าก่อนโอนเงินนะครับครับ
*สามารถสั่งหลายๆชนิดรวมกันได้ครับ*
***การโอนเงินเพื่อสร้างความมั่นใจง่ายในการยืนยันตัวตน โปรดใส่เศษอีกเพียงเล็กน้อย เพราะบางครั้งมีการโอนเงินในยอดเท่าๆกันพร้อมกัน จึงต้องทำให้แตกต่างโดยการใส่ทศนิยม จะได้ทราบว่าของใคร
เช่น
ราคาสินค้าที่ต้องโอน 520
ขอให้โอนแบบมีเศษเช่น 520.15 หรือ 520.32 หรือ 520.01 หรือ...อื่นๆ
(เศษนั้นตามใจท่านได้เลยระหว่าง .01-.99)
ชำระโดยการโอนเงินเข้าบัญชี
ธนาคารกสิกรไทย
สาขานวนคร
เลขที่บัญชี 405-2-67753-5
นาง ศุปริญญา เจริญราษฎร์
*หลังโอนเงินแล้ว กรุณาแจ้งทาง email: [email protected] หรือ sms
ติดต่อ + พูดคุย 085-2142867 090-3890549 gsm ด้วยครับผมจะรีบจัดส่งในทันที่ครับ
---------------------------------------------
***สิ่งที่ต้องแจ้งหลังการโอนเงินครับ***
*ได้โอนเงินค่า อะไรบ้าง
*จำนวน.......บาท
*ในวดป......เวลา......
*กรุณาส่ง (ขอชื่อ-นามสกุลจริง)+ที่อยู่ที่ชัดเจน.......
*รหัสไปรษณีย์.......
หมายเลขโทรศัพท์......
---------------------------------------------
แก้ไขข้อมูลเมื่อ 11 Jan 22 09:33
ชื่อวิทยาศาสตร์ Pluchea indica Less.
วงศ์ COMPOSITAE
ชื่อท้องถิ่น หนวดงิ้ว หนวดงั่ว หนวดวัว (อุดรธานี) ขี้ป้าน (แม่ฮ่องสอน) คลู (ใต้)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ขลู่เป็นไม่พุ่มสูง 0.5 - 2 เมตร ยอดและใบอ่อนมีขนอ่อนอยู่ทั่วไป ใบติดตามข้อสลับกัน ก้านใบสั้น ใบรูปไข่หัวกลับ ขอบในหยักและมีขนาดกว้างประมาณ 1 - 5 เซนติเมตร ยาวประมาณ 2 - 9 เซนติเมตร ประกอบด้วยดอกย่อยจำนวนมาก มีทั้งดอกตัวผู้และดอกตัวเมีย สีขาวอมม่วงขนาดเล็ก ขลู่เป็นพืชที่ชอบขึ้นตามธารน้ำโดยเฉพาะที่น้ำเค็มขึ้นถึง พบทั่วไปในเขตร้อน เช่น ประเทศอินเดีย จีน ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย ไทย เป็นต้น เป็นพืชที่ปลูกง่าย โดยใช้กิ่งแก่ปักชำ ขึ้นได้ในดินแทบทุกชนิด
ส่วนที่ใช้เป็นยา ใช้ส่วนของต้นที่อยู่เหนือดินทั้งสดและแห้ง (นิยมใชเฉพาะใบ)
ช่วงเวลาที่เก็บเป็นยา เก็บได้ตลอดปี
รสและสรรพคุณยาไทย สรรพคุณขับปัสสาวะ แก้ปัสสาวะพิการ แพทย์ไทยโบราณนิยมใช่ขลู่ชงให้ผู้ป่วยรับประทาน ลดอาการบวม และลดน้ำหนักตัว
สรรพคุณและการนำไปใช้เป็นยาสมุนไพรสำหรับงานสาธารณสุขมูลฐาน
ใช้เป็นยารักษาอาการขัดเบา วันละ 1 กำมือ (สดหนัก 40 - 50 กรัม แห้งหนัก 15 - 20 กรัม) หั่นเป็นชิ้น ๆ ต้มกับน้ำดื่ม วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหารครั้งละ 1 ถ้วยชา (หรือ 75 มิลลิลิตร)
สารที่พบ
ใบขลู่ประกอบด้วยสารประเภทเกลือแร่ เช่น โซเดียม คลอไรด์ สารโปแตสเซียม นอกจากนี้ยังประกอบด้วย stigmasterol (+ beta-sitosterol), stigmasterol glucoside (+ beta-sitosterol glucoside), catechin เป็นต้น
ข้อมูลทางเภสัชวิทยาอื่น ๆ
ฤทธิ์ขับปัสสาวะ นัทพร นิลวิเศษ และคณะได้ศึกษาฤทธิ์ขับปัสสาวะของขลู่ พบว่ารูปแบบ 5% และ 10% ของยาชงขลู่ (ยาชง 5% ทำได้โดยชั่งขลู่ 5 กรัม ใส่ลงในภาชนะแก้วหรือเคลือบที่ทนความร้อนได้ รินน้ำเดือดลงไปประมาณ 100 มิลลิลิตร ปิดฝาตั้งทิ้งไว้ประมาณครึ่งชั่วโมง จึงรินและคั้นน้ำออกกรองให้ได้น้ำยา 100 มิลลิลิตร) ทดลองฤทธิ์ขับปัสสาวะในหนูขาว และในอาสาสมัครที่มีสุขภาพปกติ โดยเปรียบเทียบกับยา hydrochlorothiazide พบว่ายาชงขลู่มีผลเพิ่มปริมาณปัสสาวะ และถ้าเพิ่มปริมาณความเข้มข้นก็จะมีผลเพิ่มปริมาณปัสสาวะมากขึ้น
ฤทธิ์ต้านการอักเสบ Sen T. และคณะ (ค.ศ. 1991) ได้ทำการศึกษาฤทธิ์ต้านการอักเสบ (antiinflammatory) ของสารสกัดจากรากขลู่ พบว่าสารสกัดจากรากขลู่สามารถต้านการอักเสบได้ โดยสามารถยับยั้งอาการบวมของอุ้งเท้าหนูที่เกิดจากการฉีด carragenin, histamine, serotonin, hyaluronidase และ sodium urate โดยสารสกัดจะยับยั้งกระบวนการที่โปรตีนลอดออกจากหลอดเลือด (exudation) และการเคลื่อนที่ของเม็ดเลือดขาวไปยังบริเวณอักเสบ (leucocyte migration)
ฤทธิ์ต้านการอักเสบ Sen T. และคณะ (ค.ศ. 1993) ได้ทำการศึกษากลไกการต้านการอักเสบ และการต้านการเกิดแผลในกรเพาะอาหาร ของสารสกัดจากรากขลู่ ( Pluchea indica Less root extract: PIRE) ที่คาดว่ามีกลไกเกี่ยวข้องกับ 5- lipoxygenase pathway ซึ่งเป็นกระบวนการสังเคราะห์โพรสตาแกลนดิน ( prostaglandin) ผลการศึกษาพบว่า PIRE สามารถต้านการอักเสบที่เกิดจาก arachidonic acid, platelet activation factor และสารประกอบ 48/80 ซึ่งเหนี่ยวนำให้เกิดการบวมที่อุ้งเท้าสัตว์ได้อย่างมีนัยสำคัญ นอกจากนี้สามารถยับยั้งสารประกอบ 48/80 เหนี่ยวนำให้เกิดการหลั่งสาร ฮีสตามีน ( histamine) จาก Mast cell ได้อย่างมีนัยสำคัญ ส่วนผลต่อการเกิดแผลในกระเพราะอาหาร พบว่าสามารถป้องกับการเกิดแผลจากยา indomethacin, เหล้า และ indomethacin ได้อย่างมีนัยสำคัญ โดยสามารถลดปริมา๖และความเป็นกรดของกระเพาะอาหารได้อย่างมีนัยสำคัญ
ฤทธิ์การปกป้องตับ Sen T. และคณะ (ค.ศ. 1993) ได้ทำการศึกษาฤทธิ์การปกป้องตับของสารสกัดจากขลู่ ในหนูที่ตับบาดเจ็บเฉียบพลัน (acute liver damage) จากการเหนี่ยวนำของสาร คาร์บอนเตตระคลอไรด์ (carbontetrachloride: CCl4) พบว่าสามารถลดระดับเอนไซม์ aspartate amino tranferase (AST), alanine amino tranferase (ALT), lactate dehydrogenase (LDH), serum alkaline phosphatase (ALP) และ bilirubin ได้อย่างมีนัยสำคัญ นอกจากนี้สารสกัดจากขลู่สามารถลดระยะเวลาการนอนหลับของหนูที่ได้รับ pentobarbitone ได้อย่างมีนัยสำคัญ และลด plasma prothrombin time ได้อย่างมีนัยสำคัญ เมื่อเทียบกับกลุ่มที่ได้รับ CCl4
ฤทธิ์ป้องกันทางเดินอาหารบาดเจ็บ Sen T. และคณะ (ค.ศ. 1996) ได้ทำการศึกษาฤทธิ์สารสกัดจากขลู่ ในการยับยั้งปัจจัยกระตุ้นเกร็ดเลือด (platelet activation factor: PAF) และยับยั้งการเกิดกระเพาะอาหารเสียหาย (gastric demage) พบว่าการให้สารสกัดจากขลู่สามารถยับยั้งการอักเสบและอุบัติการเกิดกับทางเดินอาหารส่วนล่างเสียหายได้ อย่างมีนัยสำคัญ
ฤทธิ์ต่อระบบประสาท Thongpraditchote S. และคณะ (ค.ศ. 1996) ได้ทำการศึกษาฤทธิ์ของสารสกัดจากรากขลู่ (Pluchea indica Less root extract: PI-E) ต่อระบบประสาทในหนู พบว่าหนูที่ได้รับ PI-E ขนาด 50-100 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ให้โดยการกิน มีการทำงานของระบบประสาทควบคุมการเคลื่อนที่ (locomotor) ทำงานเพิ่มขึ้น และลดระยะเวลาการนอนหลับของหนูที่ได้รับ pentobarbital ให้สั้นลง อย่างมีนัยสำคัญและขึ้นกับขนาดที่ได้รับ (dose dependent) นอกจากนี้พบว่าฤทธิ์ของ PI-E ที่ให้ในหนูที่ได้รับ pentobarbital จะลดลงเมื่อได้รับ flumazenil (1 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ให้ทางหลอดเลือดดำ) อย่างมีนัยสำคัญ และ PI-E (50 - 100 มิลลิกรัม/กิโลกรัม) และ diazepam (0.5-5 มิลลิกรัม/กิโลกรัม) สามารถลดพฤติกรรมก้าวร้าวได้ตามขาดที่ได้รับ (dose dependent) โดยกลไกการออกฤทธิ์ของ PI-E เกี่ยวข้องกับระบบ GABA system ในสมอง แต่อย่างไรก็ตาม PI-E ไม่มีฤทธิ์ระงับการชักที่เกิดจากการเหนี่ยวนำของ pentyleneterazole
ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ Sen T. และคณะ (ค.ศ. 2002) ได้ทำการศึกษาฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระจากสารสกัดจากรากขลู่ ( Pluchea indica Less root extract: PIRE) ในหลอดทดลองและสัตว์ โดยใช้ คาร์บอนเตตระคลอไรด์ ( carbontetrachloride: CCl4) เหนี่ยวนำให้เกิดกระบวนการสลายไปมัน ( lipid peroxidation) และการเปลี่ยนแปลง arachidonic acid จากเอนไซม์ lipoxygenase ซึ่ง 2 กระบวนการนี้ก่อให้เกิดอนุมูลอิสระขึ้น ผลการศึกษาพบว่า PIRE สามารถลดการอักเสบ และการสลายตัวของเม็ดเลือดแดงอย่างมีนัยสำคัญ นอกจากนี้พบว่า PIRE นอกจากนี้พบว่า PIRE สามารถกำจัดอนุมูลอิสระได้มากกว่า B755c และ phenidone (สารต้านอนุมูลอิสระ) ได้อย่างมีนัยสำคัญ
ฤทธิ์ยับยั้งจุลชีพ Biswas R. และคณะ (ค.ศ. 2005) ได้ทำการสกัด และประเมินสารประกอบที่พบในขลู่ และความแรงในการต้านเชื้อจุลชีพ พบว่าค่าความเข้มข้นต่ำสุดที่สามารถยับยั้งเชื้อได้ ( minimum inhibitory concentration: MIC) ของสารสกัดขลู่ต่อเชื้อ Staphylococcus aureus ML 11, S. aureus ML 358, S. aureus NCTC 6571, S. aureus 8530, Salmonella trphi 59, S. typhimurium NCTC 74, Shigella boydii 8 NCTC 254/66, S. dysenteriae 7 NCTC 519/66, Vibrio cholerae 214, Vibrio cholerae 14033, Bacillus lichenniformis, Escherichia coli ATCC 25938, Klebsiella pneumoniae 725, K. pneumoniae 10031 และ Pseudomonas aeruginosa 71 คือ 1500 , 2000, > 2000, 1000, 1500, 1500, 1500, 1500, 1000, 1500, > 2000, 1500, > 2000, 2000 และ 2000 นาโนกรัม/มิลลิลิตร
หัวพันธุ์:เหง้าพันธุ์:รับสั่งซื้อตั้งแต่ 200 บาทขึ้นไปครับ(ไม่รววมค่าส่ง) กรุณา Emailหรือ โทร
สอบถามราคาและสินค้าก่อนโอนเงินนะครับครับ
*สามารถสั่งหลายๆชนิดรวมกันได้ครับ*
***การโอนเงินเพื่อสร้างความมั่นใจง่ายในการยืนยันตัวตน โปรดใส่เศษอีกเพียงเล็กน้อย เพราะบางครั้งมีการโอนเงินในยอดเท่าๆกันพร้อมกัน จึงต้องทำให้แตกต่างโดยการใส่ทศนิยม จะได้ทราบว่าของใคร
เช่น
ราคาสินค้าที่ต้องโอน 520
ขอให้โอนแบบมีเศษเช่น 520.15 หรือ 520.32 หรือ 520.01 หรือ...อื่นๆ
(เศษนั้นตามใจท่านได้เลยระหว่าง .01-.99)
ชำระโดยการโอนเงินเข้าบัญชี
ธนาคารกสิกรไทย
สาขานวนคร
เลขที่บัญชี 405-2-67753-5
นาง ศุปริญญา เจริญราษฎร์
*หลังโอนเงินแล้ว กรุณาแจ้งทาง email: [email protected] หรือ sms
ติดต่อ + พูดคุย 085-2142867 090-3890549 gsm ด้วยครับผมจะรีบจัดส่งในทันที่ครับ
---------------------------------------------
***สิ่งที่ต้องแจ้งหลังการโอนเงินครับ***
*ได้โอนเงินค่า อะไรบ้าง
*จำนวน.......บาท
*ในวดป......เวลา......
*กรุณาส่ง (ขอชื่อ-นามสกุลจริง)+ที่อยู่ที่ชัดเจน.......
*รหัสไปรษณีย์.......
หมายเลขโทรศัพท์......
---------------------------------------------
แก้ไขข้อมูลเมื่อ 11 Jan 22 09:33
คำสำคัญ:
ขลู่