ชื่อสินค้า:
ว่านเพชรกลับ
รหัส:
133159
ประเภท:
ราคา:
30.00 บาท
/หัว
ติดต่อ:
คุณโหน่ง
ที่อยู่ร้าน:
อ.เมืองนนทบุรี จ.นนทบุรี
ร้านนี้ยังไม่มีการแจ้งเลขทะเบียนพานิชย์
เปิดร้านมาแล้ว 14 ปี 7 เดือน
โทรศัพท์:
ปุ่มติดต่อ:
คำเตือน: โปรดตรวจสอบความน่าเชื่อถือของร้าน เพื่อหลีกเลี่ยงการทุจริต การขอชำระเงินปลายทางเมื่อรับสินค้าถือเป็นอีกหนึ่งวิธีที่ดี
รายละเอียด
https://www.facebook.com/wandoktong555
ว่านเพชรกลับ
ชื่ออื่นๆ กระชายขาว (ม้ง)
ชื่อภาษาอังกฤษ -
ชื่อวิทยาศาสตร์ Boesenbergia cf. thorelii (Gagnep.) Hoes
ชื่อพ้อง -
วงศ์ Zingiberaceae
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไม้ล้มลุก มีเหง้าใต้ดิน รูปกลม เนื้อในสีขาว สูง 50-80 เซนติเมตร ใบรูป ไข่แกมรี ปลายใบแหลม โคนใบสอบ แผ่นใบด้านล่างสีเขียวแต้มน้ำตาลแดงจาง ๆ ไม่มีก้านใบ กาบใบมีขน ลิ้นใบ ขอบสองด้าน สูงยาวไม่เท่ากัน ขอบมีขน ดอกช่อ ออกที่ปลายยอด ดอกทยอยบาน ครั้งละ 1-3 ดอก กลีบประดับ สีเขียวอ่อน มีขน กลีบเลี้ยง สีขาวใส กลีบดอก มี 3 กลีบ โคนเชื่อมติดกันเป็นหลอด ยาว 2-2.1 เซนติเมตร ปลายกลีบแยก 3 กลีบ รูปขอบขนาน สีขาวใส เกสรเพศผู้ ส่วนที่เป็นกลีบมี 3 กลีบ กลีบข้างมี 2 กลีบ รูปไข่กว้างหัวกลับ สีเหลืองอ่อน แต้มสีชมพูที่โคนกลีบ กลีบปากหรือกลีบใหญ่มี 1 กลีบรูปคล้ายเรือสำเภา ขนาดกว้าง 1.2-1.4 เซนติเมตร พื้นสีขาวแกมเหลือง มีแถบสีชมพูแกมแดงยาวตามแนวกลางกลีบและปลายกลีบ เกสรเพศผู้อยู่ระหว่างกลางกลีบปาก รูปขอบขนาน ก้านเกสรสั้น ปลายเว้า ไม่มีรยางค์ที่ปลาย สีขาว มีขน เกสรเพศเมีย ยอดเกสร สีขาว มีขนที่ปลาย
นิเวศวิทยา แหล่งกำเนิดในอินโดจีน ไทย ลาว และมาเลเซีย เป็นพืชในเขตร้อนชื้น
สรรพคุณ เหง้าตำพอกสมานแผลสด ใช้ดองกับเหล้าขาวดื่มเป็นยาอายุวัฒนะ [1]
ข้อมูลการวิจัยของน้ำมันว่านเพชรกลับ
องค์ประกอบทางเคมี เหง้าสดเมื่อนำมาสกัดน้ำมันหอมระเหยโดยการต้มกลั่น (hydrodistillation) ได้น้ำมันหอมระเหยร้อยละ 0.50 (สนใจรายละเอียด GC Chromatogram ติดต่อที่ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ฝ่ายเภสัชและผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ)
แก้ไขข้อมูลเมื่อ 30 Nov 22 10:47
ว่านเพชรกลับ
ชื่ออื่นๆ กระชายขาว (ม้ง)
ชื่อภาษาอังกฤษ -
ชื่อวิทยาศาสตร์ Boesenbergia cf. thorelii (Gagnep.) Hoes
ชื่อพ้อง -
วงศ์ Zingiberaceae
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไม้ล้มลุก มีเหง้าใต้ดิน รูปกลม เนื้อในสีขาว สูง 50-80 เซนติเมตร ใบรูป ไข่แกมรี ปลายใบแหลม โคนใบสอบ แผ่นใบด้านล่างสีเขียวแต้มน้ำตาลแดงจาง ๆ ไม่มีก้านใบ กาบใบมีขน ลิ้นใบ ขอบสองด้าน สูงยาวไม่เท่ากัน ขอบมีขน ดอกช่อ ออกที่ปลายยอด ดอกทยอยบาน ครั้งละ 1-3 ดอก กลีบประดับ สีเขียวอ่อน มีขน กลีบเลี้ยง สีขาวใส กลีบดอก มี 3 กลีบ โคนเชื่อมติดกันเป็นหลอด ยาว 2-2.1 เซนติเมตร ปลายกลีบแยก 3 กลีบ รูปขอบขนาน สีขาวใส เกสรเพศผู้ ส่วนที่เป็นกลีบมี 3 กลีบ กลีบข้างมี 2 กลีบ รูปไข่กว้างหัวกลับ สีเหลืองอ่อน แต้มสีชมพูที่โคนกลีบ กลีบปากหรือกลีบใหญ่มี 1 กลีบรูปคล้ายเรือสำเภา ขนาดกว้าง 1.2-1.4 เซนติเมตร พื้นสีขาวแกมเหลือง มีแถบสีชมพูแกมแดงยาวตามแนวกลางกลีบและปลายกลีบ เกสรเพศผู้อยู่ระหว่างกลางกลีบปาก รูปขอบขนาน ก้านเกสรสั้น ปลายเว้า ไม่มีรยางค์ที่ปลาย สีขาว มีขน เกสรเพศเมีย ยอดเกสร สีขาว มีขนที่ปลาย
นิเวศวิทยา แหล่งกำเนิดในอินโดจีน ไทย ลาว และมาเลเซีย เป็นพืชในเขตร้อนชื้น
สรรพคุณ เหง้าตำพอกสมานแผลสด ใช้ดองกับเหล้าขาวดื่มเป็นยาอายุวัฒนะ [1]
ข้อมูลการวิจัยของน้ำมันว่านเพชรกลับ
องค์ประกอบทางเคมี เหง้าสดเมื่อนำมาสกัดน้ำมันหอมระเหยโดยการต้มกลั่น (hydrodistillation) ได้น้ำมันหอมระเหยร้อยละ 0.50 (สนใจรายละเอียด GC Chromatogram ติดต่อที่ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ฝ่ายเภสัชและผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ)
แก้ไขข้อมูลเมื่อ 30 Nov 22 10:47
คำสำคัญ:
ว่านเพชรกลับ