ชื่อสินค้า:
สารแตกตาพืช "ไซโตคีนิน" หรือ "ไซโตไคนิน" ขนาด 500 ซีซี.
รหัส:
107393
ประเภท:
ราคา:
400.00 บาท
/ขวด
ติดต่อ:
คุณchat
ที่อยู่ร้าน:
เขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร
ร้านนี้ยังไม่มีการแจ้งเลขทะเบียนพานิชย์
เปิดร้านมาแล้ว 14 ปี 11 เดือน
โทรศัพท์:
ปุ่มติดต่อ:
คำเตือน: โปรดตรวจสอบความน่าเชื่อถือของร้าน เพื่อหลีกเลี่ยงการทุจริต การขอชำระเงินปลายทางเมื่อรับสินค้าถือเป็นอีกหนึ่งวิธีที่ดี
รายละเอียด
สารแตกตาพืช "ไซโตคีนิน" หรือ "ไซโตไคนิน" เป็นฮอร์โมนกระตุ้นการแตกตาข้างของพืชเพื่อพัฒนาไปเป็นกิ่ง เหมาะสำหรับการสร้างและควบคุมทรงพุ่มต้นไม้ ทั้งไม้บอนไซและไม้กระถางทั่วไปให้สวยงามตามต้องการ
ประโยชน์"ไซโตคีนิน" คือ
1. ส่งเสริมเซลล์ให้แบ่งตัวและพัฒนาไปเป็นอวัยวะต่างๆ ของพืช หน้าที่หลักของไซโตไคนิน คือ ช่วยให้ไซโตพลาสซึมแบ่งตัว ถ้ามีไซโตไคนินมากกลุ่มเซลล์จะพัฒนาเป็นเนื้อเยื่อเจริญที่จะแปลงสภาพไปเป็นส่วนของยอดคือตา ลำต้น และใบ แต่ถ้ามีไซโตคินินต่ำจะเกิดรากมาก
2. กระตุ้นการเจริญของกิ่งแขนง สารไซโตไคนินสามารถกระตุ้นให้ตาข้างของพืชเจริญออกมาเป็นกิ่งได้ จึงมีประโยชน์ในการควบคุมทรงพุ่ม ส่วนใหญ่ใช้กับไม้กระถางประดับ นอกจากนี้ยังช่วยกระตุ้นตาที่นำไปขยายพันธุ์ด้วยวิธีติดตาให้เจริญออกมาเป็นกิ่งใหม่ได้เร็วขึ้นโดยการทาสารที่ตาซึ่งติดสนิทดีแล้ว จะทำให้ตานั้นเจริญออกมาภายใน 7-14 วัน ภายหลังการใช้สาร
3. ช่วยในการเคลื่อนย้ายอาหาร ไซโตไคนินมีคุณสมบัติช่วยให้การเคลื่อนย้ายสารอาหารจากส่วนอื่นๆ ไปยังส่วนที่ได้รับไซโตไคนินได้และเกิดการสะสมอาหาร ณ บริเวณนั้น ต้วอย่างเช่น ใบอ่อนซึ่งมีไซโตไคนินอยู่มากจะสามารถเคลื่อนย้ายสารอาหารจากใบแก่มาเก็บสะสมไว้ในใบอ่อนที่กำลังเจริญเติบโต นอกจากนี้ไซโตไคนินยังช่วยป้องกันไม่ให้คลอโรฟิลล์เสื่อมสลายง่าย ใบพืชที่เริ่มเปลี่ยนเป็นสีเหลืองถ้าให้ได้รับไซโตไคนินจะทำให้ใบสามารถสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ขึ้นได้อีก
4. กระตุ้นการเกิดดอกและผล โดยไซโตไคนินสามารถชักนำการออกดอกของพืชวันยาวหรือพืชที่ต้องการอากาศเย็นได้ และยังช่วยกระตุ้นให้มีการสร้างผลแบบพาร์ทีโนคาร์ปิค ฟรุ๊ท ในพืชบางชนิดได้ แต่อย่างไรก็ตามไซโตไคนินที่นำมาใช้ในแปลงเกษตรยังมีค่อนข้างน้อย ส่วนใหญ่ใช้ในงานเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
@ ไซโตคีนิน ขนาด 500 ซีซี. ขวดละ 400 บาท ส่งฟรีเก็บเงินปลายทาง
... แก้ไขข้อมูลเมื่อ 11 May 22 02:12
ประโยชน์"ไซโตคีนิน" คือ
1. ส่งเสริมเซลล์ให้แบ่งตัวและพัฒนาไปเป็นอวัยวะต่างๆ ของพืช หน้าที่หลักของไซโตไคนิน คือ ช่วยให้ไซโตพลาสซึมแบ่งตัว ถ้ามีไซโตไคนินมากกลุ่มเซลล์จะพัฒนาเป็นเนื้อเยื่อเจริญที่จะแปลงสภาพไปเป็นส่วนของยอดคือตา ลำต้น และใบ แต่ถ้ามีไซโตคินินต่ำจะเกิดรากมาก
2. กระตุ้นการเจริญของกิ่งแขนง สารไซโตไคนินสามารถกระตุ้นให้ตาข้างของพืชเจริญออกมาเป็นกิ่งได้ จึงมีประโยชน์ในการควบคุมทรงพุ่ม ส่วนใหญ่ใช้กับไม้กระถางประดับ นอกจากนี้ยังช่วยกระตุ้นตาที่นำไปขยายพันธุ์ด้วยวิธีติดตาให้เจริญออกมาเป็นกิ่งใหม่ได้เร็วขึ้นโดยการทาสารที่ตาซึ่งติดสนิทดีแล้ว จะทำให้ตานั้นเจริญออกมาภายใน 7-14 วัน ภายหลังการใช้สาร
3. ช่วยในการเคลื่อนย้ายอาหาร ไซโตไคนินมีคุณสมบัติช่วยให้การเคลื่อนย้ายสารอาหารจากส่วนอื่นๆ ไปยังส่วนที่ได้รับไซโตไคนินได้และเกิดการสะสมอาหาร ณ บริเวณนั้น ต้วอย่างเช่น ใบอ่อนซึ่งมีไซโตไคนินอยู่มากจะสามารถเคลื่อนย้ายสารอาหารจากใบแก่มาเก็บสะสมไว้ในใบอ่อนที่กำลังเจริญเติบโต นอกจากนี้ไซโตไคนินยังช่วยป้องกันไม่ให้คลอโรฟิลล์เสื่อมสลายง่าย ใบพืชที่เริ่มเปลี่ยนเป็นสีเหลืองถ้าให้ได้รับไซโตไคนินจะทำให้ใบสามารถสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ขึ้นได้อีก
4. กระตุ้นการเกิดดอกและผล โดยไซโตไคนินสามารถชักนำการออกดอกของพืชวันยาวหรือพืชที่ต้องการอากาศเย็นได้ และยังช่วยกระตุ้นให้มีการสร้างผลแบบพาร์ทีโนคาร์ปิค ฟรุ๊ท ในพืชบางชนิดได้ แต่อย่างไรก็ตามไซโตไคนินที่นำมาใช้ในแปลงเกษตรยังมีค่อนข้างน้อย ส่วนใหญ่ใช้ในงานเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
@ ไซโตคีนิน ขนาด 500 ซีซี. ขวดละ 400 บาท ส่งฟรีเก็บเงินปลายทาง
... แก้ไขข้อมูลเมื่อ 11 May 22 02:12
คำสำคัญ:
ไซโตไคนิน
สารแตกตาพืช