ค้นหาสินค้า

สารป้องกันและกำจัดโรคพืช

ขายสารป้องกันและกำจัดโรคพืชราคาถูก มีให้เลือกหลายร้าน

สารป้องกันและกำจัดโรคพืช

หัวเชื้อจุลินทรีย์ไตรโคเดอร์ม่า+บาซิลัส
หัวเชื้อจุลินทรีย์ไตรโคเดอร์ม่า+บาซิลัส พุนพิน สุราษฎร์ธานี

ราคา 60.00 บาท

ซามูไร ดีอาร์ เร่งต้นดอกผล+รักษาโรครากเน่าต้นเน่า (ส่งฟรี)
ซามูไร ดีอาร์ เร่งต้นดอกผล+รักษาโรครากเน่าต้นเน่า (ส่งฟรี) เมืองพิษณุโลก พิษณุโลก

ราคา 530.00 บาท /ลิตร

คามิน (สารสกัดจากขมิ้นชันและเปลือกมังคุด)
คามิน (สารสกัดจากขมิ้นชันและเปลือกมังคุด) บางเขน กรุงเทพมหานคร

ราคา 300.00 บาท

โปรไฟท์1
โปรไฟท์1 กรุงเทพมหานคร

ราคา 495.00 บาท

ขี้เถ้าละเอียดจากชีวมวล
ขี้เถ้าละเอียดจากชีวมวล ด่านช้าง สุพรรณบุรี

ราคา 20.00 บาท /กิโลกรัม

ไมโตฝาจ  กำจัดไรเห็ด ขายปลีก-ส่ง
ไมโตฝาจ กำจัดไรเห็ด ขายปลีก-ส่ง เมืองปราจีนบุรี ปราจีนบุรี

ราคา 150.00 บาท /250 กรัม

ยากำจัดวัชพืชชีวภาพ
ยากำจัดวัชพืชชีวภาพ คอนสวรรค์ ชัยภูมิ

ราคา 200.00 บาท /ขวด 600 cc

เค-พลัส100 [ K-PLUS100]
เค-พลัส100 [ K-PLUS100] คันนายาว กรุงเทพมหานคร

ราคา 500.00 บาท

ป้องกันและกำจัดเชื้อรานาโนวีโฟร์
ป้องกันและกำจัดเชื้อรานาโนวีโฟร์ หนองไผ่ เพชรบูรณ์

ราคา 450.00 บาท

สมุนไพรกำจัดโรคพืชและเชื้อรา  Nature T
สมุนไพรกำจัดโรคพืชและเชื้อรา Nature T เมืองปทุมธานี ปทุมธานี

ราคา 300.00 บาท

หัวเชื้อราไตรโคเดอร์มา
หัวเชื้อราไตรโคเดอร์มา วังโป่ง เพชรบูรณ์

ราคา 100.00 บาท

กาวเหนียวดักจับแมลง
กาวเหนียวดักจับแมลง วารินชำราบ อุบลราชธานี

ราคา 250.00 บาท /ขวด

HUGE 1
HUGE 1 ลำลูกกา ปทุมธานี

ราคา 350.00 บาท

คูพร๊อคแซท-เอฟ
คูพร๊อคแซท-เอฟ ลาดหลุมแก้ว ปทุมธานี

ราคา 390.00 บาท

มาทาเนท
มาทาเนท เชียงใหม่

ราคา 350.00 บาท

โคโค-แมกซ์ KOKOMAX
โคโค-แมกซ์ KOKOMAX สายไหม กรุงเทพมหานคร

ราคา 390.00 บาท /ถุง

ไตรโคเดอร์มา(เชื้อสด)ป้องกำจัดเชื้อราโรคพืช
ไตรโคเดอร์มา(เชื้อสด)ป้องกำจัดเชื้อราโรคพืช คลองหลวง ปทุมธานี

ราคา 20.00 บาท /ถุง

ฟูโกดะ ป้องกันกำจัดโรคเมล็ดด่างในข้าว
ฟูโกดะ ป้องกันกำจัดโรคเมล็ดด่างในข้าว ศรีประจันต์ สุพรรณบุรี

ราคา 550.00 บาท /500 ซีซี/ 1 ขวด

คีโตเมี่ยม
คีโตเมี่ยม เมืองนครราชสีมา นครราชสีมา

ราคา 120.00 บาท /1ซอง 100 g

น้ำสัมควันไม้
น้ำสัมควันไม้ วิหารแดง สระบุรี

ราคา 100.00 บาท

ปูนขาว
ปูนขาว เมืองสมุทรปราการ สมุทรปราการ

ราคา 15.00 บาท /ถุง

ไวท์สตาร์ S3 สำหรับเชื้อรา ขนาด1000ml
ไวท์สตาร์ S3 สำหรับเชื้อรา ขนาด1000ml สามโคก ปทุมธานี

ราคา 600.00 บาท

เเบล็คโมซ่า+ไอซัคกิ้ง
เเบล็คโมซ่า+ไอซัคกิ้ง เมืองนครราชสีมา นครราชสีมา

ราคา 2,250.00 บาท

ดั๊กบิ๊กเร้ด
ดั๊กบิ๊กเร้ด มหาราช พระนครศรีอยุธยา

ราคา 120.00 บาท

กำจัดเชื้อราในกล้วยหอม ทุเรียน ลำใย
กำจัดเชื้อราในกล้วยหอม ทุเรียน ลำใย เมืองนครนายก นครนายก

ราคา 650.00 บาท /ชุด

สารเพิ่มผลผลิต แก้รากเน่าโคนเน่าในทุเรียน เชื้อไฟทอปธอร่า
สารเพิ่มผลผลิต แก้รากเน่าโคนเน่าในทุเรียน เชื้อไฟทอปธอร่า วัฒนา กรุงเทพมหานคร

ราคา 400.00 บาท /15 กิโลกรัม

จังหวัดที่ขายสารป้องกันและกำจัดโรคพืช

กระบี่ (1 ร้าน)

กรุงเทพมหานคร (23 ร้าน)

กาญจนบุรี (2 ร้าน)

กาฬสินธุ์ (1 ร้าน)

กำแพงเพชร (1 ร้าน)

ขอนแก่น (4 ร้าน)

จันทบุรี (1 ร้าน)

ชลบุรี (4 ร้าน)

ชัยภูมิ (1 ร้าน)

ชุมพร (1 ร้าน)

เชียงราย (2 ร้าน)

เชียงใหม่ (3 ร้าน)

ตาก (2 ร้าน)

นครนายก (1 ร้าน)

นครปฐม (2 ร้าน)

นครราชสีมา (7 ร้าน)

นครศรีธรรมราช (2 ร้าน)

นครสวรรค์ (4 ร้าน)

นนทบุรี (4 ร้าน)

น่าน (1 ร้าน)

บุรีรัมย์ (1 ร้าน)

ปทุมธานี (10 ร้าน)

ปราจีนบุรี (2 ร้าน)

พระนครศรีอยุธยา (2 ร้าน)

พะเยา (1 ร้าน)

พัทลุง (2 ร้าน)

พิษณุโลก (1 ร้าน)

เพชรบูรณ์ (3 ร้าน)

มหาสารคาม (2 ร้าน)

ราชบุรี (3 ร้าน)

ลพบุรี (3 ร้าน)

เลย (1 ร้าน)

สงขลา (2 ร้าน)

สมุทรปราการ (4 ร้าน)

สระแก้ว (1 ร้าน)

สระบุรี (2 ร้าน)

สุพรรณบุรี (3 ร้าน)

สุราษฎร์ธานี (1 ร้าน)

หนองบัวลำภู (2 ร้าน)

อุดรธานี (1 ร้าน)

อุบลราชธานี (1 ร้าน)

ดูสินค้าหมวด สารป้องกันและกำจัดโรคพืช ทั้งหมดในเว็บ

การใช้สารป้องกันกำจัดศัตรูพืช (3800)

- ตรวจซ่อมอุปกรณ์เครื่องพ่นอย่าให้มีรอยรั่ว เพื่อป้องกันสารพิษเปียกเปื้อนเสื้อผ้า และร่างกายของผู้พ่น

- ต้อง สวมเสื้อผ้าและอุปกรณ์ป้องกันสารพิษ ได้แก่ หน้ากากหรือผ้าปิดจมูก ถุงมือ หมวก และรองเท่า เพื่อป้องกันอันตรายจากสารพิษ

- อ่านฉลากคำแนะนำ คุณสมบัติ และการใช้ของสารป้องกันกำจัดศัตรูพืช ก่อนปฏิบัติงานทุกครั้ง

- ควรพ่นสารป้องกันกำจัดศัตรูพืชในช่วงเช้าหรือเย็นขณะลมสงบ หลีกเลี่ยงการพ่นในเวลาแดดจัดหรือลมแรง และขณะปฏิบัติงาน ผู้พ่นต้องอยู่เหนือลมตลอดเวลา

- เตรียมสารป้องกันกำจัดศัตรูพืชสำหรับใช้ให้หมดในคราวเดียว ไม่ควรเหลือติดค้างในถังพ่น

- ปิดฝาภาชนะบรรจุสารป้องกันกำจัดศัตรูพืชให้สนิทเมื่อเลิกใช้ เก็บไว้ในที่มิดชิด ห่างจากสถานที่ปรุงอาหาร แหล่งน้ำ และปิดกุญแจโรงเก็บ

- ภายหลังการพ่นสารป้องกันกำจัดศัตรูพืชทุกครั้ง ผู้พ่นต้องอาบน้ำ สระผม และเปลี่ยนเสื้อผ้าใหม่ทันที เสื้อผ้าที่ใส่ขณะพ่นสารต้องซักให้สะอาดทุกครั้ง

- ไม่เก็บเกี่ยวผลผลิต ก่อนสารป้องกันกำจัดศัตรูพืชที่ใช้จะสลายตัวถึงระดับปลอดภัย โดยดูจากฉลากที่ภาชนะบรรจุ

- เมื่อใช้สารป้องกันกำจัดศัตรูพืชหมดแล้ว ให้ล้างขวดบรรจุสารด้วยน้ำ 2-3 ครั้ง เทน้ำลงในถังพ่นสาร ปรับปริมาตรน้ำตามต้องการ ก่อนนำไปพ่นป้องกันกำจัดศัตรูพืช สำหรับภาชนะบรรจุสารเคมีที่ใช้หมดแล้ว คือ ขวด กล่องกระดาษ และถุงพลาสติก ให้ทำลายโดยการฝังดินห่างจากแหล่งน้ำ และให้มีความลึกมากพอที่สัตว์ไม่สามารถคุ้ยขึ้นมาได้ ห้ามเผาไฟ และห้ามนำมาใช้อีก

การใช้เครื่องพ่นสารป้องกันกำจัดศัตรูพืช (3801)

1.เครื่องพ่นสาร
-เครื่องพ่นสารแบบสูบโยกสะพายหลัง
-เครื่องยนต์พ่นสารชนิดใช้แรงดันของเหลว

2.วิธีการใช้
-เครื่องพ่นสารแบบสูบโยกสะพายหลัง ใช้อัตราการพ่น 60-80 ลิตรต่อไร่ การพ่นสารเพื่อป้องกันกำจัดโรคและแมลงศัตรูพืช เลือกใช้หัวพ่นแบบกรวยขนาดเล็ก (เส้นผ่าศูนย์กลาง 0.6-1.0 มิลลิเมตร) สำหรับการพ่นสารกำจัดวัชพืช เลือกใช้หัวพ่นแบบพัด หรือแบบปะทะ

-การพ่นสารกำจัดวัชพืช ต้องไม่ใช้เครื่องพ่นร่วมกับเครื่องพ่นสารป้องกันกำจัดโรคและแมลงศัตรูพืช ขณะพ่นกดหัวพ่นต่ำและถือหัวพ่นระดับเดียวตลอดการปฏิบัติงาน เพื่อให้ละอองสารเคมีตกลงเฉพาะพื้นที่ต้องการควบคุมวัชพืชเท่านั้น การพ่นสารกำจัดวัชพืชคลุมดินป้องกันวัชพืชก่อนงอก ต้องระวังการพ่นซ้ำแนวเดิม เพราะจะทำให้สารกำจัดวัชพืชตกลงเป็นสองเท่า และหลังพ่นไม่ควรรบกวนผิวหน้าดิน

-เครื่องยนต์พ่นสารชนิดใช้แรงดันของ เหลว ใช้อัตราพ่น 80-120 ลิตรต่อไร่ ใช้หัวพ่นแบบกรวยขนาดกลาง (เส้นผ่าศูนย์กลาง 1.0-2.0 มิลลิเมตร) ปรับความดันในระบบการพ่นไว้ที่ 10 บาร์ หรือ 150 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว ถ้าเป็นหัวพ่นแบบกรวยชนิดปรับได้ ควรปรับให้ได้ละอองกระจายกว้างที่สุดซึ่งจะได้ละอองขนาดเล็กสม่ำเสมอ เหมาะสำหรับการพ่นสารป้องกันกำจัดโรคและแมลงศัตรูพืช

ข้อมูลจาก เกษตรดีที่เหมาะสม

ชนิดของสมุนไพรป้องกันกำจัดแมลงศัตรูพืช (3865)

ชนิดของสมุนไพรป้องกันกำจัดแมลงศัตรูพืช

สมุนไพร    
ที่มีประสิทธิภาพป้องกันกำจัดแมลงศัตรูพืช ได้แก่ หางไหลขาว (โล่ติ๊น)    
หางไหลแดง (กะเพียด) ยาสูบ (ยาฉุน) เถาบอระเพ็ด สาบเสือ พริกไทย ข่าแก่    
ขมิ้นชัน ตะไคร้หอม ตะไคร้แกง ดีปลี พริก โหระพา สะระแน่ กระเทียม กระชาย    
กะเพรา ใบผกากรอง ใบดาวเรือง ใบมะเขือเทศ ใบคำแสด ใบน้อยหน่า ใบยอ    
ใบลูกสบู่ต้น ใบลูกเทียนหยด ใบมะระขี้นก เปลือกว่านหางจระเข้ ว่านน้ำ    
เมล็ดโพธิ์ เมล็ดแตงไทย เปลือกมะม่วงหิมพานต์ ดอกลำโพง ดอกเฟื่องฟ้าสด    
กลีบดอกชบา ลูกทุเรียนเทศ รากเจตมูลเพลิงแดง

สมุนไพรที่มี    
ประสิทธิภาพป้องกันกำจัดหนอนชนิดต่างๆ ได้แก่ สะเดา (ใบ+ผล) หางไหลขาว    
(โล่ติ๊น) หางไหลแดง (กะเพียด) หนอนตายหยาก สาบเสือ ยาสูบ (ยาฉุน) ขมิ้นชัน    
ว่านน้ำ หัวกลอย เมล็ดละหุ่ง ใบและเมล็ดสบู่ต้น ดาวเรือง ฝักคูนแก่    
ใบเลี่ยน ใบควินิน ลูกควินิน ใบมะเขือเทศ เถาบอระเพ็ด ใบลูกเทียนหยด    
เปลือกใบเข็มป่า เปลือกต้นจิกและจิกสวน ต้นส้มเช้า เมล็ดมันแกว ใบยอ    
ลูกเปลือกต้นมังตาล เถาวัลย์ยาง เครือบักแตก คอแลน มุยเลือด ส้มกบ    
ตีนตั่งน้อย ปลีขาว เกล็ดลิ้น ย่านสำเภา พ่วงพี เข็มขาว ข่าบ้าน บัวตอง    
สบู่ดำ แสยก พญาไร้ใบ ใบแก่-ผลยี่โถ

สมุนไพรป้องกันกำจัดแมลงศัตรูพืช สามารถแยกตามชนิดของแมลงศัตรูพืชได้ดังนี้

1. หนอนกระทู้-มันแกว สาบเสือ ยี่โถ สะเดา หนอนตายหยาก ใบมะเขือเทศ ดาวเรือง ขมิ้นชัน ข่า ขิง คูน น้อยหน่า

2. หนอนคืบกะหล่ำ-มันแกว สาบเสือ ยาสูบ ยี่โถ สะเดา หนอนตายหยาก ใบมะเขือเทศ ดาวเรือง ขมิ้นชัน คูน ตะไคร้หอม

3. หนอนใยผัก-มันแกว ยี่โถ สะเดา หนอนตายหยาก ใบมะเขือเทศ ดาวเรือง ขมิ้นชัน คูน ตะไคร้หอม

4. หนอนกอข้าว-ยาสูบ บอระเพ็ด ใบมะเขือเทศ

5. หนอนห่อใบข้าว-ผกากรอง

6. หนอนชอนใบ-ยาสูบ ใบมะเขือเทศ

7. หนอนกระทู้กล้า-สะเดา

8. หนอนหลอดหอม-ยี่โถ สะเดา หนอนตายหยาก ใบมะเขือเทศ ตะไคร้หอม

9. หนอนหนังเหนียว-ยี่โถ สะเดา หนอนตายหยาก ใบมะเขือเทศ คูน

10. หนอนม้วนใบ-ยี่โถ สะเดา หนอนตายหยาก ใบมะเขือเทศ คูน ตะไคร้หอม

11. หนอนกัดใบ-ยี่โถ สะเดา หนอนตายหยาก ใบมะเขือเทศ คูน ตะไคร้หอม

12. หนอนเจาะยอดเจาะดอก-ยี่โถ สะเดา ขมิ้นชัน คูน

13. หนอนเจาะลำต้น-สะเดา ใบมะเขือเทศ คูน

14. หนอนแก้ว-ใบมะเขือเทศ ขมิ้นชัน ตะไคร้หอม

15. หนอนผีเสื้อหัวกะโหลก-ใบมะเขือเทศ ดาวเรือง

16. หนอนผีเสื้อต่างๆ-มันแกว หนอนตายหยาก สะเดา คูน

17. ด้วงหมัดกระโดด-มันแกว ว่านน้ำ มะระขี้นก ยาสูบ กระเทียม

18. ด้วงเจาะเมล็ดถั่ว-ขมิ้นชัน ด้วงกัดใบ มะระขี้นก คูน

19. ด้วงเต่าฟักทอง-สะเดา กระเทียม น้อยหน่า

20. ด้วงหรือมอดทำลายเมล็ดพันธุ์-ยี่โถ กระเทียม ขมิ้นชัน ข่า ขิง

21. มอดข้าวเปลือก-ว่านน้ำ

22. มวนเขียว-มันแกว ยาสูบ

23. มวนหวาน มันแกว ยาสูบ

24. แมลงสิงห์ข้าว-มะระขี้นก

25. เพลี้ยอ่อน-มันแกว ยาสูบ สะเดา หนอนตายหยาก ดาวเรือง กระเทียม น้อยหน่า

26. เพลี้ยไฟ-ยางมะละกอ สะเดา สาบเสือ ยาสูบ หนอนตายหยาก กระเทียม

27. เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล-สะเดา สาบเสือ บอระเพ็ด

28. เพลี้ยจักจั่นสีเขียว-สะเดา สาบเสือ บอระเพ็ด

29. เพลี้ยหอย-สาบเสือ

30. เพลี้ยแป้ง-ยาสูบ สะเดา ไรแดง ยาสูบ ขมิ้นชัน ไรขาว ยาสูบ ขมิ้นชัน

31. แมลงหวี่ขาว-ดาวเรือง กระเทียม

32. แมลงวันแดง-ว่านน้ำ น้อยหน่า สลอด ข่าเล็ก เงาะ บัวตอง ขิง พญาไร้ใบ

33. แมลงวันทอง-ว่านน้ำ หนอนตายหยาก บัวตอง มันแกว แสลงใจ

34. แมลงปากกัดผัก-ว่านน้ำ

35. แมลงกัดกินรากและเมล็ดในหลุมปลูก-มะรุม

36. จิ้งหรีด-ละหุ่ง สบู่ดำ สลอด

37. ปลวก-ละหุ่ง

38. ตั๊กแตน-สะเดา

สมุนไพร    
ไล่แมลง เป็นพืชที่มีส่วนต่างๆ เช่น ใบ ราก เปลือก ดอก ผล    
ที่มีสารออกฤทธิ์ทั้งทางตรงและทางอ้อม ในการป้องกันกำจัดแมลงศัตรูพืช

ผลทางตรง จะมีผลกระทบต่อระบบประสาท และระบบหายใจ ทำให้แมลงตายทันที

ผลทางอ้อม จะมีผลต่อระบบอื่นๆ โดยการไปยับยั้งการกินอาหาร การลอกคราบ การเจริญเติบโตของแมลง

การใช้สมุนไพรไล่แมลงหรือกำจัดศัตรูพืชควรใช้ให้เหมาะสม คือ เลือกใช้ส่วนต่างๆ ของพืชสมุนไพรในช่วงเวลาที่เหมาะสม ดังนี้

ดอก ควรเก็บในระยะดอกตูมเพิ่งจะบาน

ผล ควรเก็บในระยะที่ผลยังไม่สุก เพราะสารต่างำๆ ยังไม่ถูกส่งไปเลี้ยงเมล็ด

เมล็ด ควรเก็บในระยะที่ผลสุกงอมเต็มที่ ซึ่งจะมีระยะที่เมล็ดแก่เต็มที่ และจะมีสารต่างๆ สะสมอยู่ในปริมาณมาก

หัว    
และราก
ควรเก็บในระยะที่เริ่มมีดอก เพราะระยะนี้ต้นพืชจะมีการสะสมสารต่างๆ    
ไว้ที่ราก และควรเก็บในฤดูหนาวปลายฤดูร้อน    
เพราะเป็นช่วงที่กระบวนสังเคราะห์แสงหยุดทำงาน

เปลือก ควรเก็บก่อนที่จะมีการผลิใบใหม่ และควรเก็บในฤดูร้อนและฤดูฝน

ดังนั้น    
ก่อนที่จะนำสมุนไพรแต่ละชนิดมาใช้ในการป้องกันกำจัดหรือไล่แมลงศัตรูพืช    
ควรมีการศึกษาหาข้อมูลให้ดีเสียก่อนว่า จะนำส่วนไหนมาใช้และใช้ในช่วงเวลาใด    
จึงจะก่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการป้องกันกำจัดแมลง

ที่มา : เทคโนโลยีชาวบ้าน