ลักษณะพฤกษศาสตร์ของสร้อยสุมาลี (3464)
ชื่อวิทยาศาสตร์: Parameria barbata Schum.
ชื่อวงศ์: Apocynaceae
ชื่อสามัญ: Osmanthus
ชื่อพื้นเมือง: เครือเขามวก เครือเขามวกขาวตั่งตู้เครือ ตังติด มวก ส้มลม วอร์กั้นจรู้ก วันจรู้กและส้มเย็น
ลักษณะทั่วไป:
ต้น เถาของกุมาริกาค่อนข้างเล็ก แต่เหนียวแยกสาขามาก ทุกส่วนของต้นมียางขาว
ใบ ใบเดี่ยว ออกตรงข้ามเป็นคู่ค่อนข้างถี่ รูปรีแกมรูปไข่กลับ ยาว 2-4 ซม. กว้าง 1.5-2 ซม. ปลายแหลม เนื้อใบหนาเล็กน้อยช่อดอกแยกแขนง ออกตามซอกใบเกือบตลอดกิ่ง
ดอก ดอกสีขาว ขนาดเล็ก ประมาณ 3 มม. กลีบดอก โคนเชื่อมเป็นหลอดสั้นปลายแยกเป็น 5 แฉก เมื่อบานส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 0.5 ซม. เกสรตัวผู้ 5อัน
ฝัก/ผล เป็นฝักคู่ ยาว 15-45 ซม.
เมล็ด มี 4-10 เมล็ด
ฤดูกาลออกดอก: ฤดูหนาว ช่วงเดือนธันวาคม
การขยายพันธุ์: การตอนกิ่ง หรือเพาะเมล็ด ปักชำกิ่ง
ส่วนที่มีกลิ่นหอม: ดอก
การใช้ประโยชน์: ไม้ประดับ และสมุนไพร
ถิ่นกำเนิด: แถบอินโดจีน
แหล่งที่พบ: ป่าเบญจพรรณ หรือชายป่าอื่นๆ
ชื่อวงศ์: Apocynaceae
ชื่อสามัญ: Osmanthus
ชื่อพื้นเมือง: เครือเขามวก เครือเขามวกขาวตั่งตู้เครือ ตังติด มวก ส้มลม วอร์กั้นจรู้ก วันจรู้กและส้มเย็น
ลักษณะทั่วไป:
ต้น เถาของกุมาริกาค่อนข้างเล็ก แต่เหนียวแยกสาขามาก ทุกส่วนของต้นมียางขาว
ใบ ใบเดี่ยว ออกตรงข้ามเป็นคู่ค่อนข้างถี่ รูปรีแกมรูปไข่กลับ ยาว 2-4 ซม. กว้าง 1.5-2 ซม. ปลายแหลม เนื้อใบหนาเล็กน้อยช่อดอกแยกแขนง ออกตามซอกใบเกือบตลอดกิ่ง
ดอก ดอกสีขาว ขนาดเล็ก ประมาณ 3 มม. กลีบดอก โคนเชื่อมเป็นหลอดสั้นปลายแยกเป็น 5 แฉก เมื่อบานส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 0.5 ซม. เกสรตัวผู้ 5อัน
ฝัก/ผล เป็นฝักคู่ ยาว 15-45 ซม.
เมล็ด มี 4-10 เมล็ด
ฤดูกาลออกดอก: ฤดูหนาว ช่วงเดือนธันวาคม
การขยายพันธุ์: การตอนกิ่ง หรือเพาะเมล็ด ปักชำกิ่ง
ส่วนที่มีกลิ่นหอม: ดอก
การใช้ประโยชน์: ไม้ประดับ และสมุนไพร
ถิ่นกำเนิด: แถบอินโดจีน
แหล่งที่พบ: ป่าเบญจพรรณ หรือชายป่าอื่นๆ