ค้นหาสินค้า

ดาหลา

ขายต้นดาหลา ดอกดาหลาราคาถูก การปลูก วิธีดูแล และการขยายพันธุ์ดาหลา ชื่อวิทยาศาสตร์ ชื่อสามัญ ลักษณะและสรรพคุณ

ต้นดาหลา

ต้นดาหลา
ต้นดาหลา สารภี เชียงใหม่

ราคา 500.00 บาท /ต้น

(1หน่อ) ต้นดาหลากลีบบัว
(1หน่อ) ต้นดาหลากลีบบัว เมืองมหาสารคาม มหาสารคาม

ราคา 149.00 บาท /หน่อ

ต้นดาหลาดอกแดง สวยม๊าก
ต้นดาหลาดอกแดง สวยม๊าก คลองหลวง ปทุมธานี

ราคา 150.00 บาท /ต้น

ต้นดาหลากลีบบัวชมพู
ต้นดาหลากลีบบัวชมพู ชะอวด นครศรีธรรมราช

ราคา 250.00 บาท

ต้นดาหลา
ต้นดาหลา ปราจีนบุรี

ราคา 100.00 บาท /1

ต้นดาหลา
ต้นดาหลา ปราจีนบุรี

ราคา 85.00 บาท /กอ

หน่อต้นดาหลาหลากสี
หน่อต้นดาหลาหลากสี สุไหงโกลก นราธิวาส

ราคา 200.00 บาท /หน่อ

ต้นดาหลา (กทม)
ต้นดาหลา (กทม) บางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร

ราคา 250.00 บาท /ต้น

ต้นดาหลา
ต้นดาหลา แก่งคอย สระบุรี

ราคา 2,500.00 บาท /ต้น

พันธุ์ดาหลา ส่งเก็บเงินปลายทาง
พันธุ์ดาหลา ส่งเก็บเงินปลายทาง องครักษ์ นครนายก

ราคา 50.00 บาท /ต้น

ดาหลาขาว
ดาหลาขาว นากลาง หนองบัวลำภู

ราคา 150.00 บาท

ดาหลา
ดาหลา เมืองปราจีนบุรี ปราจีนบุรี

ดาหลาสีโอรส
ดาหลาสีโอรส นนทบุรี

ราคา 200.00 บาท /กอ

ดาหลา
ดาหลา เมืองนครศรีธรรมราช นครศรีธรรมราช

ราคา 80.00 บาท

ดาหลา
ดาหลา เมืองปราจีนบุรี ปราจีนบุรี

ราคา 2.00 บาท

ดาหลาสีชมพูเข้ม
ดาหลาสีชมพูเข้ม ทุ่งสง นครศรีธรรมราช

ราคา 80.00 บาท /หน่อ

ดาหลาสีแดงทับทิมหน่อละ120บาทขั้นต่ำ 3 หน่อ 360 บาท
ดาหลาสีแดงทับทิมหน่อละ120บาทขั้นต่ำ 3 หน่อ 360 บาท บางพลี สมุทรปราการ

ราคา 360.00 บาท /ต้น?

หน่อดาหลา
หน่อดาหลา จันทบุรี

ราคา 100.00 บาท

ดาหลา
ดาหลา ปราจีนบุรี

หัวดาหลา  หน่อดาหลา
หัวดาหลา หน่อดาหลา สันติสุข น่าน

ราคา 50.00 บาท

หน่อดาหลา ส่งเก็บเงินปลายทาง
หน่อดาหลา ส่งเก็บเงินปลายทาง เมืองตรัง ตรัง

ราคา 50.00 บาท /หน่อ

หน่อดาหลาสีชมพูเข้ม
หน่อดาหลาสีชมพูเข้ม เมืองนครศรีธรรมราช นครศรีธรรมราช

ราคา 60.00 บาท /หน่อ

ดาหลาสีชมพู
ดาหลาสีชมพู เมืองระยอง ระยอง

ราคา 80.00 บาท

ดาหลาชมพู Torch ginger
ดาหลาชมพู Torch ginger เมืองราชบุรี ราชบุรี

ราคา 350.00 บาท /ต้น

ขายหน่อดอกดาหลา
ขายหน่อดอกดาหลา ปากพนัง นครศรีธรรมราช

ราคา 45.00 บาท

ขายดาหลาดอกขาว
ขายดาหลาดอกขาว พนัสนิคม ชลบุรี

ราคา 250.00 บาท /หน่อ

หน่อดาหลา แถมดอกดาหลา
หน่อดาหลา แถมดอกดาหลา พนมสารคาม ฉะเชิงเทรา

ราคา 100.00 บาท

ดาหลา หน่อดาหลา
ดาหลา หน่อดาหลา ปากเกร็ด นนทบุรี

ราคา 50.00 บาท /หน่อ

จังหวัดที่ขายต้นดาหลา

กรุงเทพมหานคร (2 ร้าน)

จันทบุรี (1 ร้าน)

ฉะเชิงเทรา (1 ร้าน)

ชลบุรี (1 ร้าน)

เชียงใหม่ (2 ร้าน)

ตรัง (2 ร้าน)

นครนายก (6 ร้าน)

นครศรีธรรมราช (6 ร้าน)

นนทบุรี (4 ร้าน)

นราธิวาส (1 ร้าน)

น่าน (1 ร้าน)

ปทุมธานี (2 ร้าน)

ปราจีนบุรี (9 ร้าน)

พัทลุง (1 ร้าน)

มหาสารคาม (1 ร้าน)

ยะลา (1 ร้าน)

ระยอง (1 ร้าน)

ราชบุรี (1 ร้าน)

ลำปาง (2 ร้าน)

สมุทรปราการ (1 ร้าน)

สระบุรี (1 ร้าน)

หนองบัวลำภู (1 ร้าน)

ดูสินค้าหมวด ต้นดาหลา ทั้งหมดในเว็บ

เมล็ดพันธุ์ดาหลา

ดาหลา
ดาหลา เมืองนครศรีธรรมราช นครศรีธรรมราช

ราคา 1.00 บาท

เมล็ดดาหลา
เมล็ดดาหลา ชะอวด นครศรีธรรมราช

ราคา 100.00 บาท /15

เมล็ด ดาหลา
เมล็ด ดาหลา เมืองนครศรีธรรมราช นครศรีธรรมราช

ราคา 1.00 บาท /เมล็ด

 Etlingera elatior
Etlingera elatior 'Red Sceptre' (Seeds) เมืองเชียงใหม่ เชียงใหม่

ราคา 10.00 บาท /เมล็ด

จังหวัดที่ขายเมล็ดพันธุ์ดาหลา

เชียงใหม่ (1 ร้าน)

นครศรีธรรมราช (3 ร้าน)

ดูสินค้าหมวด เมล็ดพันธุ์ดาหลา ทั้งหมดในเว็บ

ต้นกล้าดาหลา

ดอกกระเจียว ลัดดาวัลย์
ดอกกระเจียว ลัดดาวัลย์ นนทบุรี

ราคา 159.00 บาท /กอ

ต้นพันธุ์ ดอกกระเจียว สีเขียว ขายเป็นหัวๆ
ต้นพันธุ์ ดอกกระเจียว สีเขียว ขายเป็นหัวๆ เวียงชัย เชียงราย

ราคา 39.00 บาท /ถุงดำ

จังหวัดที่ขายต้นกล้าดาหลา

เชียงราย (1 ร้าน)

นนทบุรี (1 ร้าน)

ดูสินค้าหมวด ต้นกล้าดาหลา ทั้งหมดในเว็บ

ลักษณะพฤกษศาสตร์ของต้นดาหลา ชื่อวิทยาศาสตร์ การขยายพันธุ์ การดูแล สรรพคุณทางสมุนไพร ประโยชน์

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Etlingera elatior (Jack) R.M. Smith

ชื่อภาษาอังกฤษ : Torch ginger, Ginger Flower, Red Ginger Lily

ชื่ออื่นๆ : กาหลา, กะลา, ข่าน้ำ, จินตะหลา

ลำต้น : ไม้ล้มลุกมีเหง้าใต้ดิน ลำต้นเหนือดินเป็นกาบใบที่โอบซ้อนกันแน่น มีสีเขียวเข้ม

ใบ : เป็นใบเดี่ยว รูปขอบขนาน ผิวใบเกลี้ยง สีเขียวเข้มและมัน ปลายแหลมฐานเรียวลาดเข้าหาก้านใบ

ดอก : ออกเป็นช่อแบบกระจุกแน่นจากเหง้าใต้ดิน ดอกมีหลายสีออกดอกตลอดปี

ผล : กลม มีขนนุ่ม ผลสุกมีสีเหลืองอมส้ม

เมล็ด : สีดำ มีขนาดเล็ก

ดาหลา

การขยายพันธุ์ของต้นดาหลา

แยกหน่อ แยกเง้า ปักชำหน่อแก่ เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เพาะเมล็ด

การดูแลต้นดาหลา

ปลูกได้ในดินร่วน ต้องการน้ำมาก ชอบแดดรำไร เจริญเติบโตปานกลาง

สรรพคุณทางสมุนไพรของต้นดาหลา

- ดอก ช่วยแก้ลมพิษ แก้โรคผิวหนัง ช่วยขับลม แก้ท้องอืดท้องเฟ้อได้

- เหง้า ใช้บำรุงธาตุ ขับเสมหะ แก้ลมแน่นหน้าอก แก้ผดผื่นคันตามตัว

ประโยชน์ของต้นดาหลา

- นิยมปลูกเป็นไม้ประดับสวน หรือ ไม้ตัดดอก

- หน่ออ่อนและดอกสามารถรับประทานได้

- กลีบดอกนำมาต้มแล้วชงเป็นเครื่องดื่ม และทำดอกดาหลากวน

- ดอกดาหลา ช่วยดับกลิ่นอับชื้น


ลักษณะทางพฤกษศาตร์ของดาหลา (3571)

ชื่อวิทยาศาสตร์:  Etlingera elatior (Jack) R.M. Smith
ชื่อวงศ์:  Zingiberales
ชื่อสามัญ:  Torch  Ginger
ชื่อพื้นเมือง:  กาหลา, กะลา
ลักษณะทั่วไป:
    ต้น  ลักษณะคล้ายข่า มีลำต้นใต้ดินเรียกว่าเหง้า (rhizome) เหง้านี้จะเป็นบริเวณที่เกิดของหน่อดอกและหน่อต้น ดาหลา 1 ต้น สามารถให้หน่อใหม่ได้ประมาณ 7 หน่อ ในเวลา 1 ปี ส่วนลำต้นเหนือดินเป็นกาบใบที่โอบซ้อนกันแน่น เช่นเดียวกับพวกกล้วย ส่วนนี้คือลำต้นเทียม (pseudostem) ลำต้นเหนือดินสูง 2-3 เมตร มีสีเขียวเข้ม
    ใบ  มีรูปร่างยาวรี กลางใบกว้างแล้วค่อย ๆ เรียวไปหาปลายใบ และฐานใบ ใบไม่มีก้านใบ ผิวเกลี้ยงท้งด้านบนและด้านล่าง ใบยาว 30-80 เซ็นติเมตร กว้าง 10-15 เซนติเมตร ปลายใบ แหลมฐานใบเรียวลาดเข้าหาก้านใบ เส้นกลางใบปรากฏชัดทางด้านล่างของใบ
    ดอก  ดอกดาหลาเป็นดอกช่อมีลักษณะดอกแบบ (head) ประกอบด้วยกลีบประดับ (Bracts) มี 2 ขนาด ส่วนโคนประกอบด้วยกลีบประดับขนาดใหญ่ มีความกว้างกลีบ 2-3 ซ.ม. จะมีสีแดงขลิบขาวเรียงซ้อนกันอยู่และจะบานออก ประมาณ 25-30 กลีบ และมีกลีบประดับ ขนาดเล็กอยู่ส่วนบนของช่อดอก ความกว้างกลีบประมาณ 1 ซ.ม. ซึ่งมีสีเดียวกับกลีบประดับ ขนาดใหญ่ กลีบประดับเล็กนี้จะหุบเข้าเรียงเป็นระดับมีประมาณ 300-330 กลีบ ภายในกลีบ ประดับขนาดใหญ่ที่บานออกจะมีดอกจริงขนาดเล็กกลีบดอกสีแดง ซึ่งเป็นดอกสมบูรณ์เพศอยู่ จำนวนมาก ดอกบานเต็มที่จะมีขนาดความกว้างดอกประมาณ 14-16 เซนติเมตร ความยาวช่อ 10-15 เซนติเมตร มีก้านช่อดอกยาว 30-150 เซนติเมตร ลักษณะก้านช่อดอกแข็งตรง ดอกจะ พัฒนามาจากหน่อดอกที่แทงออกมาจากเหง้าใต้ดินลักษณะของหน่อจะมีสีชมพู ที่ปลายหน่อ
ฤดูกาลออกดอก:  ออกตลอดปีแต่จะให้ดอกดกที่สุดในช่วงฤดูร้อน คือ เดือนมีนาคม - พฤษภาคม
การดูแลรักษา:  เจริญเติบโตได้ดีในที่มีแสงแดดรำไรหรือที่ร่มไม้ยืนต้น ถ้าหากโดนแดดจัดเกินไปสีของกลีบประดับจะจางลง และทำให้ใบไหม้  สามารถปลูกได้ทุกฤดู ฤดูปลูกที่เหมาะสมที่สุดคือ ฤดูฝน
การขยายพันธุ์:  แยกหน่อ แยกเง้า ปักชำหน่อแก่
ส่วนที่มีกลิ่นหอม:  ดอก
การใช้ประโยชน์:
    -    ไม้ประดับ
    -    สมุนไพร
    -    บริโภค
    -    ไม้ตัดดอก
ถิ่นกำเนิด:  เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ส่วนที่ใช้บริโภค:  ดอก
การปรุงอาหาร:  นำกลีบดอกไปยำ หรือจะนำดอกตูมและหน่ออ่อนต้มจิ้มน้ำพริก ใส่แกงเผ็ดก็ได้  หรือหั่นเป็นชิ้นเล็กๆ ผสมในข้าวยำ หรือปรุงแบบยำ ใส่เนื้อหมูนึ่งสุกหั่นบางๆ และใส่แตงกวาจะช่วยให้มีรสหวาน
สรรพคุณทางยา:  ดอกดาหลามีรสเผ็ดร้อน มีสรรพคุณช่วยแก้ลมพิษ แก้โรคผิวหนัง ช่วยขับลม แก้ท้องอืดท้องเฟ้อ


ตำนานที่เกี่ยวข้องกับดอกดาหลา (3572)

  ว่ากันว่ากันว่าเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับความรักต่างศาสนา เล่ากันว่าเป็นตำนานของคู่รักต่างศาสนา ระหว่างชายไทยกับสาวงาม มาเลเซีย (อิสลาม)ทั้งสองพบกัน ตอนที่หนุ่มไทยข้ามไปทำงานยัง ประเทศมาเลเซีย และเกิดความรักกับสาวมาเลเซีย แต่ด้วยความที่ต่างกัน ทางศาสนา พ่อแม่จึงมิให้คบหากัน ถึงแม้จะถูกกีดกันระหว่างพ่อแม่แต่นางก็มั่นในรักต่อชายไทย นางมิยอมเป็นของชายใดนอกจากชายที่นางรัก แต่แล้วมีเหตุให้ต้องพลัดพรากแยกจากกัน เมื่อชายไทยนั้นมีเหตุต้องกลับมายังประเทศของตน ก่อนจะจากกันก็สัญญากันไว้ว่าจะกลับมาหาสาวมาเลเซียที่บริเวณชายแดน
    เพราะคำมั่นสัญญา นางก็รอแม้ระยะเวลาจะนานแค่ใหนนางก็ยังรอชายคนรักที่ชายแดนมาเลเซีย รอการกลับมาของเขารอด้วยความหวังลิบหรี่ ก่อนที่นางจะตรอมใจตายนางก็ยังมารอเขาที่ชายแดนมาเลเซีย ระหว่างที่รอคอย เธอก็อธิฐานว่าหากเกิดอีกชาติให้เกิดมาเป็นดอกดาหลาที่ขึ้นอยู่ตามชายแดน มาเลเซีย เพื่อรอหนุ่มคนรักกลับมา


สูตรเครื่องดื่มจากดอกดาหลา (3573)

ส่วนประกอบ
     -  ดอกดาหลาสีชมพู
     -  น้ำเชื่อม ? ถ้วย
     -  น้ำเปล่า 3 ถ้วย

วิธีเตรียม
    ปั่นดอกดาหลาด้วยเครื่องปั่น คั้นน้ำออกมาจะได้ประมาณ ? ถ้วย เติมน้ำเปล่า 1 ถ้วย ยกขึ้นตั้งไฟ พอเดือดใส่น้ำเชื่อมคนพอเข้ากัน ผสมน้ำเปล่า ที่เหลือตั้งไว้ให้เย็น กรอกใส่ขวดเก็บไว้ในตู้เย็นได้หลายวัน


วิธีการขยายพันธุ์ดอกดาหลา (3574)

1. การแยกหน่อ
ควรแยกหน่อที่มีความเหมาะสมนำไปปลูกคือ สูงประมาณ 60-100 ซ.ม. ขึ้นไปและมีกิ่งอ่อนกึ่งแก่นประมาณ 4-5 ใบ ใช้มีตัดให้มีเหง้า และรากติดอยู่ด้วย ซึ่งหน่อชนิดนี้จะมีหน่อดอกอ่อน ๆ ติดมาด้วยประมาณ 3 หน่อ นำไปชำในถึงพลาสติก 1 เดือนเพื่อให้หน่อแข็งแรงก่อนปลูก

2. การแยกเหง้า
โดยการแยกเหง้าที่เกิดใหม่ที่โคนต้น แล้วนำไปชำในแปลงเพาะชำ วิธีนี้จะใช้เวลาประมาณ 1 ปี จึงจะเริ่มให้ดอก

3. การปักชำหน่อแก่
โดยนำไปชำในแปลงเพาะชำให้แตกหน่อใหม่แข็งแรง แล้วจึงค่อยย้ายมาปลูกลงแปลง