ค้นหาสินค้า

จำปา

ขายต้นจำปา ดอกจำปาราคาถูก การปลูก วิธีดูแล และการขยายพันธุ์จำปา ชื่อวิทยาศาสตร์ ชื่อสามัญ ลักษณะและสรรพคุณ

ต้นจำปา

ต้นจำปา
ต้นจำปา นนทบุรี

ต้นจำปา
ต้นจำปา เมืองปราจีนบุรี ปราจีนบุรี

ราคา 2,000.00 บาท

ต้นจำปา
ต้นจำปา เมืองปราจีนบุรี ปราจีนบุรี

ต้นจำปา
ต้นจำปา องครักษ์ นครนายก

ราคา 15.00 บาท /ต้น

ต้นจำปาทอง  สวนป้าแตงคลอง 15
ต้นจำปาทอง สวนป้าแตงคลอง 15 นครนายก

ราคา 3,000.00 บาท /ต้น

ต้นจำปา
ต้นจำปา เมืองปราจีนบุรี ปราจีนบุรี

ราคา 800.00 บาท /ต้น

ต้นจำปา
ต้นจำปา ปราจีนบุรี

ต้นจำปา
ต้นจำปา ปราจีนบุรี

	 ต้นจำปาทอง
ต้นจำปาทอง ปทุมธานี

ราคา 3,000.00 บาท /ต้น

ต้นจำปา
ต้นจำปา แก่งคอย สระบุรี

ราคา 30.00 บาท /ต้น

ต้นจำปา
ต้นจำปา เมืองกาญจนบุรี กาญจนบุรี

ราคา 1,500.00 บาท /ต้น

จำปานครไทย
จำปานครไทย สมุทรปราการ

ราคา 450.00 บาท /ต้น

ขายจำปาทองอินโด จำปาทองแคระ
ขายจำปาทองอินโด จำปาทองแคระ เมืองระยอง ระยอง

ราคา 350.00 บาท /ต้น

จำปา
จำปา ปราจีนบุรี

ราคา 3,000.00 บาท /ต้น

จำปาอินโดแคระ
จำปาอินโดแคระ ปราจีนบุรี

ราคา 800.00 บาท /ต้น

จำปาอินโด
จำปาอินโด สันทราย เชียงใหม่

จำปา
จำปา บางเขน กรุงเทพมหานคร

จำหน่ายต้นมณฑา สูง 1.50 เมตร
จำหน่ายต้นมณฑา สูง 1.50 เมตร ลำลูกกา ปทุมธานี

ราคา 500.00 บาท /ต้น

จำปา 4นิ้ว++ สูง 3-3.5 เมตร
จำปา 4นิ้ว++ สูง 3-3.5 เมตร เมืองปราจีนบุรี ปราจีนบุรี

จำปาแคระอินโด
จำปาแคระอินโด นากลาง หนองบัวลำภู

ราคา 350.00 บาท

จำปา
จำปา เมืองปราจีนบุรี ปราจีนบุรี

จำปา
จำปา บางกรวย นนทบุรี

จำปา2"
จำปา2" เมืองปราจีนบุรี ปราจีนบุรี

จำปาทอง
จำปาทอง บ้านนา นครนายก

ราคา 500.00 บาท /ต้น

จำปาสีทอง
จำปาสีทอง บ้านไร่ อุทัยธานี

ราคา 239.00 บาท /1ต้น

จำปาอินโด ดอกหอม ออกตลอดทั้งปีค่ะ
จำปาอินโด ดอกหอม ออกตลอดทั้งปีค่ะ เมืองเชียงใหม่ เชียงใหม่

ราคา 250.00 บาท

จำปา
จำปา บางแค กรุงเทพมหานคร

จำปา
จำปา เมืองปราจีนบุรี ปราจีนบุรี

จำปา(บริการส่งทางไปรษณีย์)
จำปา(บริการส่งทางไปรษณีย์) เมืองปราจีนบุรี ปราจีนบุรี

ราคา 150.00 บาท

จังหวัดที่ขายต้นจำปา

กรุงเทพมหานคร (2 ร้าน)

กาญจนบุรี (1 ร้าน)

เชียงราย (1 ร้าน)

เชียงใหม่ (2 ร้าน)

ตรัง (1 ร้าน)

นครนายก (4 ร้าน)

นนทบุรี (2 ร้าน)

ปทุมธานี (2 ร้าน)

ปราจีนบุรี (14 ร้าน)

ระยอง (1 ร้าน)

สมุทรปราการ (1 ร้าน)

สระบุรี (1 ร้าน)

หนองบัวลำภู (1 ร้าน)

อุดรธานี (1 ร้าน)

อุทัยธานี (1 ร้าน)

ดูสินค้าหมวด ต้นจำปา ทั้งหมดในเว็บ

เมล็ดพันธุ์จำปา

ขายเมล็ดพร้อมเพาะจำปาทอง
ขายเมล็ดพร้อมเพาะจำปาทอง เมืองระยอง ระยอง

ราคา 2.00 บาท

#เมล็ดจำปาทอง
#เมล็ดจำปาทอง กันทรวิชัย มหาสารคาม

ราคา 3.00 บาท

เมล็ดจำปาทอง
เมล็ดจำปาทอง เวียงสระ สุราษฎร์ธานี

ราคา 250.00 บาท /กิโลกรัม

จำปาสีทอง
จำปาสีทอง นาวัง หนองบัวลำภู

ราคา 100.00 บาท /400 เมล็ด

จังหวัดที่ขายเมล็ดพันธุ์จำปา

มหาสารคาม (1 ร้าน)

ระยอง (1 ร้าน)

สุราษฎร์ธานี (1 ร้าน)

หนองบัวลำภู (1 ร้าน)

ดูสินค้าหมวด เมล็ดพันธุ์จำปา ทั้งหมดในเว็บ

ต้นกล้าจำปา

ต้นกล้าจำปาทอง
ต้นกล้าจำปาทอง เวียงสระ สุราษฎร์ธานี

ราคา 12.00 บาท /ต้น

จำปาทอง
จำปาทอง ไพศาลี นครสวรรค์

ราคา 25.00 บาท /ต้น

จำปาทอง
จำปาทอง สนามชัยเขต ฉะเชิงเทรา

ราคา 30.00 บาท /ต้น

จำปาทอง จุมปา จุ๋มป๋า จำปากอ
จำปาทอง จุมปา จุ๋มป๋า จำปากอ เมืองนครศรีธรรมราช นครศรีธรรมราช

ราคา 30.00 บาท /ต้น

จำปาทอง
จำปาทอง ห้วยยอด ตรัง

ราคา 25.00 บาท /ต้น

ขายจำปาทองอินโด จำปาทองแคระ
ขายจำปาทองอินโด จำปาทองแคระ เมืองระยอง ระยอง

ราคา 350.00 บาท /ต้น

จำปา (ดอกหอม)
จำปา (ดอกหอม) นครราชสีมา

ราคา 180.00 บาท

ต้นจำปาป่า
ต้นจำปาป่า เมืองตรัง ตรัง

ราคา 30.00 บาท /ต้น

จำปาแคระอินโด
จำปาแคระอินโด ชาติตระการ พิษณุโลก

ราคา 349.00 บาท /ต้น

จำปาป่า
จำปาป่า เมืองนครศรีธรรมราช นครศรีธรรมราช

ราคา 10.00 บาท /ต้น

จำปาทอง
จำปาทอง โคกศรีสุพรรณ สกลนคร

ราคา 10.00 บาท /ถุง

จำปาแคระหรือจำปาเตี้ยหรือจำปาอินโด
จำปาแคระหรือจำปาเตี้ยหรือจำปาอินโด บ้านนา นครนายก

ราคา 500.00 บาท /ต้น

จำปาทอง
จำปาทอง ปากพนัง นครศรีธรรมราช

ราคา 50.00 บาท

ต้นจำปาทอง จำปาป่า
ต้นจำปาทอง จำปาป่า เมืองชุมพร ชุมพร

ราคา 15.00 บาท /ต้น

จำปา Golden champa ไม้มงคล ไม้ยืนต้น
จำปา Golden champa ไม้มงคล ไม้ยืนต้น เมืองราชบุรี ราชบุรี

ราคา 80.00 บาท /ต้น

จำปาแคระอินโด
จำปาแคระอินโด บางพลี สมุทรปราการ

ราคา 690.00 บาท /ต้น?

จำปาแคระอินโด
จำปาแคระอินโด นากลาง หนองบัวลำภู

ราคา 358.00 บาท

จำปาอินโดแคระ - Michelia champaca dwarf  (กทม)
จำปาอินโดแคระ - Michelia champaca dwarf (กทม) บางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร

ราคา 450.00 บาท /ต้น

ต้นจำปา
ต้นจำปา เมืองปราจีนบุรี ปราจีนบุรี

ราคา 80.00 บาท /ต้น

จำปาสีทอง
จำปาสีทอง ท่าม่วง กาญจนบุรี

ราคา 10.00 บาท /ต้น

กล้าต้นจำปา
กล้าต้นจำปา หนองเสือ ปทุมธานี

ราคา 50.00 บาท /ต้น

จำปา
จำปา แก่งคอย สระบุรี

ราคา 30.00 บาท /ต้น

จำปาอินโด
จำปาอินโด เมืองปราจีนบุรี ปราจีนบุรี

ราคา 450.00 บาท /1ต้น

จำปาขาว
จำปาขาว เมืองลำปาง ลำปาง

ราคา 250.00 บาท

จำปาอินโดแคระ
จำปาอินโดแคระ ไทรน้อย นนทบุรี

จำปาสีแดง
จำปาสีแดง องครักษ์ นครนายก

จำปาสีแดง
จำปาสีแดง บางกรวย นนทบุรี

จังหวัดที่ขายต้นกล้าจำปา

กรุงเทพมหานคร (1 ร้าน)

กาญจนบุรี (1 ร้าน)

ขอนแก่น (1 ร้าน)

ฉะเชิงเทรา (1 ร้าน)

ชุมพร (1 ร้าน)

เชียงราย (1 ร้าน)

เชียงใหม่ (1 ร้าน)

ตรัง (2 ร้าน)

นครนายก (2 ร้าน)

นครพนม (1 ร้าน)

นครราชสีมา (1 ร้าน)

นครศรีธรรมราช (3 ร้าน)

นครสวรรค์ (1 ร้าน)

นนทบุรี (2 ร้าน)

ปทุมธานี (1 ร้าน)

ปราจีนบุรี (2 ร้าน)

พิษณุโลก (1 ร้าน)

มหาสารคาม (1 ร้าน)

ระยอง (1 ร้าน)

ราชบุรี (1 ร้าน)

ลำปาง (1 ร้าน)

สกลนคร (1 ร้าน)

สมุทรปราการ (2 ร้าน)

สระบุรี (2 ร้าน)

สุราษฎร์ธานี (1 ร้าน)

หนองบัวลำภู (1 ร้าน)

ดูสินค้าหมวด ต้นกล้าจำปา ทั้งหมดในเว็บ

ลักษณะพฤกษศาสตร์ของต้นจำปาสีทอง ชื่อวิทยาศาสตร์ การขยายพันธุ์ การดูแล สรรพคุณทางสมุนไพร ประโยชน์

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Magnolia champaca (L.) Baill. ex Pierre

ชื่อภาษาอังกฤษ : Champak

ชื่ออื่นๆ : จุมปา, จำปากอ, จำปาเขา, จำปาป่า

ลำต้น : เป็นไม้ยืนต้น แตกกิ่งก้านเป็นพุ่ม ทรงพุ่มโปร่ง เรือนยอดเป็นรูปกรวยคว่ำ ลำต้นตรง เปลือกต้นสีเทาอมขาว

ใบ : เป็นใบเดี่ยว ไม่ผลัดใบ รูปรี ปลายแหลมหรือเป็นติ่งแหลม โคนใบกลมมนหรือแหลม ใบมีขนาดใหญ่ ขอบเรียบ แผ่นใบบาง ยอดอ่อนและใบอ่อนมีขนสีน้ำตาลทองหนาแน่น ใบแก่สีเขียวเข้ม ใบอ่อนมีขนสั้นๆ ใบแก่ผิวเกลี้ยง

ดอก : เป็นดอกเดี่ยวออกตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ดอกตูมเป็นรูปกระสวย ดอกสีเหลืองเข้มหรือสีเหลืองทอง ดอกมีกลิ่นหอมแรง ดอกออกทั้งปี

ผล : เป็นกลุ่ม ช่อผลห้อย ไม่มีก้านผลย่อย ผลค่อนข้างกลมหรือกลมรี เปลือกผลหนาและแข็ง ผลอ่อนสีเขียวอ่อนหรือสีน้ำตาลอ่อน มีช่องอากาศสีขาว ผลแก่เปลือกผลเปลี่ยนเป็นสีเทา แตกตามร่องกลางผลในแนวตั้ง

เมล็ด : รูปทรงกลมหรือกลมรี เมล็ดแก่สีแดง

จำปา

การขยายพันธุ์ของต้นจำปาสีทอง

เพาะเมล็ด ตอนกิ่ง ทาบกิ่ง และเสียบยอด

การดูแลต้นจำปาสีทอง

ปลูกได้ในดินทั่วไป ต้องการน้ำมาก ชอบแดดจัด

สรรพคุณทางสมุนไพรของต้นจำปาสีทอง

- เปลือกต้น ใช้แก้ไข้

- ใบ แก้โรคทางระบบประสาท

- ดอก ขับลม ขับปัสสาวะ แก้โรคไต บำรุงโลหิต บำรุงน้ำดี แก้วิงเวียนศีรษะ

- เปลือกราก เป็นยาถ่าย ทำให้ประจำเดือนปกติ ขับพยาธิ

- น้ำมันหอม ทาแก้ปวดศีรษะ แก้ตาอักเสบ บวมแก้โรคปวดข้อ

ประโยชน์ของต้นจำปาสีทอง

- นิยมปลูกในบริเวณบ้าน

- ดอก นำมาร้อยมาลัย


ลักษณะเอื้องจำปาน่าน (3484)

ชื่อวิทยาศาสตร์:    Dendrobium sulcatum Lindl.
ชื่อวงศ์ย่อย:    Callista
ลักษณะทั่วไป:
    ต้น    ลำลูกกล้วยสูง 20 - 45 ซม. มีลักษณะเป็นทรงกระบอก  ค่อนข้างแบน โคนลำเรียวเล็ก กว้าง 1.5 ซม.
    ใบ    มีใบ 2 ใบ รูปรีแกมรูปใบหอกสีเขียวเข้ม ปลายใบแหลม ผิวมัน ใบยาวประมาณ 7-10 ซม.
    ดอก    ช่อดอกออกจากลำลูกกล้วยบริเวณใกล้ปลายยอด จำนวนดอก 3 - 15 ดอก/ช่อ ดอกขนาด 2.5 - 3.5 ซม. กลีบดอกมีสีเหลืองอ่อน ปากมีสีเหลืองเข้ม ห่อเข้าหากัน คล้ายท่อ ดอกบาน บริเวณโคนปากลักษณะเป็นท่อ ภายในมีเส้นสีน้ำตาล ถึงสีแดง อ่อน
    ราก    เป็นแบบรากกึ่งอากาศ (Semi-epiphytic)  
ฤดูกาลออกดอก:    มีนาคม - เมษายน  
ส่วนที่มีกลิ่นหอม:    ดอก  
ถิ่นกำเนิด:    พบในอินเดีย พม่า ไทย ลาว และเวียดนาม ที่ระดับความสูง 500 - 1000 เมตร เหนือระดับน้ำทะเล
แหล่งที่พบ:    ป่าดิบทางภาคเหนือ โดยเฉพาะที่จังหวัดน่าน

ลักษณะพฤกษศาสตร์ของจำปา (3541)

ชื่อวิทยาศาสตร์:  Michelia champaca Linn.
ชื่อวงศ์:  MAGNOLIACEAE
ชื่อสามัญ:  Champaca
ชื่อพื้นเมือง:  จัมปา จำปากอ (มลายู ภาคใต้) จำปาเขา (ตรัง) จำปาทอง (นครศรีธรรมราช) จำปาป่า (สุราษฎร์ธานี) มณฑาดอย
ลักษณะทั่วไป:
    ต้น  เป็นไม้ยืนต้นลำต้นขนาดกลาง ลำต้นกลมสูงประมาณ 20 ฟุตมีสีน้ำตาลปนขาวเล็กน้อย  กิ่งเปราะ เรือนยอดเป็นพุ่มโปร่ง ยอดอ่อนมีหูใบหุ้ม ลำต้นและกิ่งมีเส้นควั่นเป็นรอย และมีตุ่มเล็กๆ
    ใบ  ใบสีเขียวใหญ่เป็นมัน เดี่ยว เรียงเวียนสลับ แผ่นใบรูปรีแกมขอบขนาน ถึงรูปใบหอก กว้าง 4–10 ซม. ยาว 5–20 ซม.  ปลายใบแหลม  ใบกว้างประมาณ 5 นิ้ว  ยาวประมาณ 10 นิ้ว โคนใบกลม มน หรือสอบ เส้นแขนงใบ 16–20 คู่ ก้านใบยาว 2–4 ซม. ใบเป็นคลื่นเล็กน้อย ท้องใบมีขนอ่อนด้านล่าง
    ดอก  ดอกเป็นดอกเดียว มีขนาดใหญ่กว่าดอกจำปี มีสีเหลืองอมส้ม ออกตามง่ามใบ กลีบดอกยาว มีกลีบเลี้ยงและกลีบดอกรวมกัน 12–15 กลีบ กลีบด้านนอกรูปหอกกลับ ยาว 4–4.5 ซม. กว้าง 1–1.5 ซม. ปลายเรียวแหลม กลีบดอกชั้นในสั้นและแคบกว่าชั้นนอก เกสรเพศผู้มีจำนวนมากมีขนาดใหญ่กว่าดอกจำปี มีสีเหลืองอมส้ม รังไข่รวมกันเป็นแท่งสีเขียวอ่อน ยอดแหลมคล้ายฝักข้าวโพดเล็กๆ ก้านดอกยาว 1–2 ซม. เวลาบานกลีบใหญ่โค้งงอเข้าภายในดอก ไม่บานกระจายแบบดอกจำปี
    ฝัก/ผล  รูปรี หรือรูปไข่ เปลือกแข็ง ขนาดยาว 1–2 ซม. ออกเป็นกลุ่ม เปลือกผลมีจุดสีขาวขรุขระโดยรอบ ผลแก่สีน้ำตาล แตกด้านข้าง
    เมล็ด  เมล็ดสีดำ ค่อนข้างกลม เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 0.5 ซม. เยื่อหุ้มเมล็ดสีแดงส้ม
ฤดูกาลออกดอก:  ออกดอกเกือบตลอดปี
การดูแลรักษา:  เป็นไม้กลางแจ้ง  ต้องการน้ำปานกลาง  ควรเป็นดินร่วน โปร่ง อุดมสมบูรณ์
การขยายพันธุ์:  ตอนกิ่ง
ส่วนที่มีกลิ่นหอม:  ดอกหอมมาก
การใช้ประโยชน์:
    -    ไม้ประดับ
    -    ดอก แต่งกลิ่นเครื่องสำอาง ใช้ร้อยมาลัย
    -    สมุนไพร
    -    เนื้อไม้ใช้ก่อสร้างบ้านเรือน และเครื่องใช้ต่างๆ
ถิ่นกำเนิด:  จีน อินเดีย ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย
แหล่งที่พบ:  ในป่าดิบ ทั่วทุกภาคของประเทศ
สรรพคุณทางยา:
    -    เปลือกต้น ฝาดสมาน แก้ไข เป็นยาถ่าย
    -    รากแห้งและเปลือกหุ้มราก ผสมกับนมสำหรับบ่มฝี
    -    ดอก ขับลม ขับปัสสาวะใช้แก้วิงเวียน อ่อนเพลีย หน้ามืดตาลาย โรคเรื้อน
    -    ใบ แก้โรคประสาท แก้ป่วง
    -    เนื้อไม้ บำรุงประจำเดือนสตรี
    -    ผล บำรุงธาตุ แก้คลื่นเหียน แก้ไข้ ขับปัสสาวะ แก้แผลที่เท้าและเท้าแตก
    -    เมล็ด บำรุงธาตุ แก้คลื่นเหียนอาเจียน ขับปัสสาวะ แก้แผลที่เท้าและเท้าแตก
    -    ยาง แก้ริดสีดวง

*เป็นไม้หวงห้ามประเภทธรรมดา


ลักษณะของจำปาหลวง (3542)

ชื่อวิทยาศาสตร์:  MANGLICTIA SP.
ชื่อวงศ์:  MAGNOLIACEAE
ลักษณะทั่วไป:
    ต้น  เป็นไม้ยืนต้น สูง 10-30 เมตร เป็นทรงพุ่มแน่น รูปกรวยคว่ำ หรือรูปสามเหลี่ยม
    ใบ  ใบเป็นใบเดี่ยวออกเวียนสลับ เป็นรูปรี รูปไข่ หรือรูปไข่แคบ ปลายใบแหลม หรือเป็นติ่งแหลม โคนกลมมนหรือแหลม เวลาใบดกจะน่าชมมาก
    ดอก  ออกเป็นดอกเดี่ยวๆ ตามซอกใบ ดอกชูตั้งขึ้น ขณะ ดอกยังตูมจะเป็นรูปกระสวย มีกลีบเลี้ยงขนาดใหญ่สีเขียวอ่อน มีกลีบดอกจำนวน 9 กลีบ เรียงกันเป็น 3 ชั้น กลีบดอกชั้นนอกสุดจะมีขนาดใหญ่กว่ากลีบที่อยู่ชั้นในถัดเข้าไป เนื้อกลีบค่อนข้างหนาแข็ง เป็นสีเหลืองทอง หรือ สีเหลืองเข้ม ดอกเมื่อบานเต็มที่เส้นผ่าศูนย์กลาง ประมาณ 4-5 ซม. มีเกสรตัวผู้และเกสรตัวเมียจำนวนมาก เวลามีดอกดก และดอกบานพร้อมกันทั้งต้น จะสวยงามและส่งกลิ่นหอมกระจายในตอนเช้าตรู่ เป็นที่ประทับใจยิ่ง ดอกบานได้นาน 3-4 วัน (ดอกจำปาทั่วไปบานเพียง 1 วัน)
    ฝัก/ผล  ออกเป็นกลุ่ม ผลย่อยรูปค่อนข้างกลม แข็ง
    เมล็ด  มีหลายเมล็ด
ฤดูกาลออกดอก:  ออกเกือบตลอดปี
การปลูก:  ปลูกได้ในดินทั่วไป
การดูแลรักษา:  ปลูกได้ดีในดินร่วนปนทราย เป็นไม้ชอบแดด ทนแล้งได้ดีเวลามีดอกจะสวยงามและส่งกลิ่นหอมเป็นธรรมชาติ ทำให้สดชื่นดีมาก
การขยายพันธุ์:  ด้วยเมล็ด ตอนกิ่ง และเสียบยอด
ส่วนที่มีกลิ่นหอม:  ดอกมีกลิ่นหอมในตอนเช้า พอ สายกลิ่นจะจางลง
การใช้ประโยชน์:  ไม้ประดับ
แหล่งที่พบ:  จังหวัดกาญจนบุรี

เอื้อเฟื้อข้อมูล www.thairath.co.th


ลักษณะของจำปาดง (3543)

ชื่อวิทยาศาสตร์:  Schima wallichii (DC.) Korth.
ชื่อวงศ์:  Theaceae
ชื่อสามัญ:  Needle Wood
ชื่อพื้นเมือง:  มังตาน  กรรโชก (ภาคตะวันออก) กาโซ้ (ยะลา นครพนม) คาย ทะโล้ สารภีป่า (ภาคเหนือ) คายโซ่ จำปาดง พระราม (เลย หนองคาย) บุนนาค (นครราชสีมา ตรัง) พังตาน พันตัน (ภาคใต้) มือแตกาต๊ะ (มลายู ปัตตานี) ตื้อซือซะ (กะเหรี่ยง)
ลักษณะทั่วไป:
    ต้น  ไม้ต้นขนาดเล็กถึงขนาดใหญ่ สูงได้ถึง 3.5 ม. ลำต้นเปลาตรง เปลือกนอกสีเทาปนน้ำตาลอ่อน ขรุขระและมักแตกเป็นร่องลึก เปลือกในสีน้ำตาลอมแดงมีเสี้ยนละเอียดสีขาว เสี้ยนนี้เป็นพิษต่อผิวหนัง เรือนยอดเป็นพุ่มกลมทึบ
    ใบ  เป็นพืชใบเดี่ยวเรียงเวียนสลับ ใบรูปรี รูปขอบขนาน หรือรูปใบหอก ยาว 4.5-18 ซม. มักออกเป็นกระจุกตามปลายกิ่งหรือโคน ปลายใบแหลมหรือเรียวแหลม โคนใบสอบเรียว รูปลิ่ม หรือกลม ขอบใบเรียบ เป็นคลื่นหรือจักฟันเลื่อย ก้านใบยาว 0.5-3.5 ซม.
    ดอก  ออกดอกเดี่ยวๆ ตามง่ามใบหรือออกเป็นช่อแบบช่อกระจะสั้นตามปลายกิ่ง จะเห็นดอกขาวโพลนไปทั้งต้นเมื่อถึงฤดูออกดอก ก้านดอกยาว 2.5-4 ซม. กลีบเลี้ยงเกือบกลม ยาวได้ประมาณ 0.3 ซม. มีขนครุยกลีบเลี้ยงสีเขียวอ่อนขนาดเล็ก ปลายแยกมน  กลีบดอกสีขาว รูปไข่กลับ ปลายกลีบกลม มีขนาดกว้างยาวเกือบเท่ากัน ยาวได้ประมาณ 2 ซม. กลีบดอกและกลีบเลี้ยงมีจำนวนอย่างละ 5 กลีบ เกสรเพศผู้จำนวนมาก ติดที่โคนวงกลีบดอก อับเรณูติดไหวได้ รังไข่ติดเหนือวงกลีบ มี 5 ช่อง รังไข่กลม ยาวประมาณ 0.3 ซม. มีขนสั้นนุ่มคล้ายใยไหม ก้านเกสรเพศเมียยาวได้ประมาณ 0.2 ซม.
    ฝัก/ผล  เป็นแคปซูลแข็ง ค่อนข้างกลมแป้น เส้นผ่านศูนย์กลางยาว 2-4 ซม. แตกตามรอยประสาน
    เมล็ด  แบน รูปไต มีปีกที่ขอบแคบๆ
การขยายพันธุ์:  เพาะเมล็ด ตอนกิ่ง
การใช้ประโยชน์:
    -    สมุนไพร
    -    ไม้ประดับ
แหล่งที่พบ:  พบทุกภาค
สรรพคุณทางยา:
    -    ต้นและกิ่งก้านอ่อน รับประ ทานแก้คลื่นเยน และตำหยอดหูแก้ปวดหู
    -    เปลือกและผล รสเมาเบื่อ มีฤทธิ์รบกวนเส้นประสาทและทำให้ผิวหนังเกิดอาการระคายเคืองและคัน ชาวบ้านบางถิ่นใช้เบื่อปลา หรือบดเป็นผงแต่งกลิ่นธูปหอม
    -    ดอก ที่รสเมา เบื่อเช่นกัน นำไปตากแห้ง แล้วแช่น้ำ หรือชงกับน้ำร้อน ให้หญิงเพิ่งคลอดบุตรใหม่ๆ รับประทานแก้ขัดเขา ทั้งยังมีสรรพคุณแก้ลมชักและลมบ้าหมู

*อีสานใช้ดอก ทำนายปริมาณน้ำในแต่ละปี มีความเชื่อว่าถ้าดอกที่ตกลงสู่พื้นในสภาพหงายดอกขึ้นมีจำนวนมากกว่าดอกที่เอาหน้าคว่ำลง ปีนั้นน้ำจะมาก แต่ถ้าดอกคว่ำมากกว่าดอกหงายปีนั้นน้ำจะน้อย


ลักษณะของจำปาเทศ (3544)

ชื่อวิทยาศาสตร์:  Pterospermum littorale Craib.
ชื่อวงศ์:  STERCULIACEAE
ชื่อพื้นเมือง:  กะหนาย หำอาว (หนองคาย) ขนาน(ชลบุรี
ลักษณะทั่วไป:
    ต้น  เป็นไม้ขนาดกลาง สูง 10 -  20  เมตร เปลือกลำต้นสีเทาแตกเป็นร่องเป็นสะเก็ดบิดเวียนตามยาวโคนลำต้นมักเป็นปุ่มเป็นโพรง  แตกกิ่งจำนวนมาก กิ่งอ่อนยาว ปลายกิ่งห้อยลู่ กิ่งอ่อนมีขนสีขาวหรือเหลืองอ่อนบางๆ กิ่งแก่เกลี้ยง
    ใบ  ใบเดี่ยว เรียงระนาบเดียวกัน มี 2 รูป ใบอ่อนรูปไข่กว้างหรือเกือบเป็นแผ่นกลม กว้าง 14-18 ซม. ยาว 14-16 ซม. แผ่นใบเว้าเป็นแฉกลึก 5-7 แฉก แฉกรูปขอบขนานแกมรูปไข่กลับ ปลายแฉกแหลม ขอบเรียบหรือเว้าตื้นๆ ห่างๆ ไม่เป็นระเบียบ โคนรูปก้นปิด เส้นใบออกจากโคนใบประมาณ 7 เส้น แผ่นใบด้านบนสีเขียวเข้ม เกลี้ยง ด้านล่างมีขนสีเทาอมเหลืองหนาแน่น ก้านใบติดห่างจากโคนใบมาก ยาว 4-7 ซม. มีขนเป็นแฉกรูปดาวหนาแน่น หูใบแคบ ยาวประมาณ 1 ซม. มีขนทั่วไป ใบแก่รูปขอบขนานหรือรูปขอบขนานแกมรูปไข่ กว้าง 3-6 ซม. ยาว 5-13 ซม. ปลายแหลมยาว โคนมนกว้าง หรือโคนใบตัดและเว้าเล็กน้อยตรงก้านใบที่ติดเหลื่อมห่างจากโคนใบเล็กน้อย ขอบเรียบแต่มักเว้าตื้นๆ ห่างๆ ไม่เป็นระเบียบ มีเส้นใบออกจากโคนใบ 3-5 เส้น และเส้นแขนงใบข้างละ 6-8 เส้น ปลายเส้นโค้งขึ้นเลียบขอบใบ ก้านใบยาว 0.7-1 ซม. แผ่นใบด้านบนเกลี้ยง สีเขียวเข้ม ด้านล่างมีขนสีเทาอมเหลืองหรือสีนวลหนาแน่น
    ดอก  เป็นสีขาว ออกเดี่ยวๆ ตามซอกใบบริเวณใกล้ปลายยอด ก้านดอกยาว 0.5-1 ซม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ แยกกัน รูปขอบขนาน สีเขียวอมน้ำตาล กว้างประมาณ 7 มม. ยาว 7-8 ซม. ด้านนอกมีขนนุ่มเป็นมันสีน้ำตาลอมเหลือง ด้านในมีขนนุ่มเช่นกันแต่สีจางกว่า กลีบดอก 5 กลีบ สีขาว แยกกัน กว้างประมาณ 1.7 ซม. ยาวประมาณ 6.5 ซม. โคนกลีบเรียว กลีบด้านนอกมีขนเป็นแฉกรูปดาวประปราย ด้านในเกลี้ยง เกสรเพศผู้สมบูรณ์มีประมาณ 15 อัน ติดกันเป็นกลุ่มๆ สลับกับเกสรเพศผู้ไม่สมบูรณ์ ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 2 ซม. เกสรเพศเมียมีก้านเกสรยาวประมาณ 5 ซม. มีขนเป็นแฉกรูปดาวประปราย รังไข่ยาวประมาณ 6 มม. มีขนสีเทาอมเหลือง รังไข่ติดอยู่บนก้าน
    ฝัก/ผล  รูปทรงกระบอกสั้นๆ กว้าง 3-4 ซม. ยาว 5-8 ซม. มีสันคม 5 สัน ผนังระหว่างสันเว้าเข้าเป็นแอ่ง ฐานคอดลงเป็นแกนสั้นๆ ยาว 0.8-1.3 ซม. ผนังมีขนสีเหลืองอมน้ำตาลทั่วไป ฝักแก่แตกตามรอยสันออกเป็น 5 เสี่ยง
    เมล็ด  มีจำนวนมาก รูปไข่หรือรูปรีแบน ด้านบนมีปีกยาวบางใสสีน้ำตาล กว้างประมาณ 6 มม. ยาวรวมทั้งฝักและปีกประมาณ 3.6 ซม.
ฤดูกาลออกดอก:  ออกดอกตลอดปี แต่ออกมากช่วงฤดูฝน
การดูแลรักษา:  เป็นพันธุ์ไม้หอมที่ทนทานกับสภาพแวดล้อมที่ไม่ค่อยเหมาะสมกับการเจริญเติบโต ของพืชอื่น เช่น ในสภาพดินที่มีเกลือปะปนอยู่ในดินระดับหนึ่ง (ดินที่เค็มไม่มากนัก) จึงเหมาะกับพื้นที่ราบลุ่มที่อยู่ใกล้ๆ ทะเล
การขยายพันธุ์:
    -    การตอนกิ่ง เป็นวิธีการที่เหมาะสมที่สุด เนื่องจากออกรากง่าย ขนาดของกิ่งที่จะใช้ตอนควรมีขนาด 2 - 20 ซม.
    -    การเพาะเมล็ด
ส่วนที่มีกลิ่นหอม:  ดอกหอมเย็นตลอดวัน
การใช้ประโยชน์:  ไม้ประดับ
ถิ่นกำเนิด:  ไทย
แหล่งที่พบ:  ขึ้นตามป่าละเมาะชายหาด ป่าชายหาด หรือตามร่องน้ำลำคลองที่ไม่ห่างจากฝั่งทะเล