ค้นหาสินค้า

กระดังงา

ขายต้นกระดังงา ดอกกระดังงาราคาถูก การปลูก วิธีดูแล และการขยายพันธุ์กระดังงา ชื่อวิทยาศาสตร์ ชื่อสามัญ ลักษณะและสรรพคุณ

ต้นกระดังงา

ขายต้นกระดังงาสงขลา สูง 2 เมตร
ขายต้นกระดังงาสงขลา สูง 2 เมตร ลำลูกกา ปทุมธานี

ราคา 1,000.00 บาท /ต้น

ต้นกระดังงาไทย
ต้นกระดังงาไทย เมืองปราจีนบุรี ปราจีนบุรี

ต้นกระดังงาสงขลา
ต้นกระดังงาสงขลา หนองเสือ ปทุมธานี

ราคา 50.00 บาท /ต้น

ต้นกระดังงาสงขลา
ต้นกระดังงาสงขลา ลาดพร้าว กรุงเทพมหานคร

ราคา 50.00 บาท /ต้น

ต้นกระดังงาสงขลา
ต้นกระดังงาสงขลา แก่งคอย สระบุรี

ราคา 30.00 บาท /ต้น

กระดังงา
กระดังงา เมืองปราจีนบุรี ปราจีนบุรี

ราคา 800.00 บาท

กระดังงาแอฟฟิกา1เดียวที่รวมพันธุ์ไม้แปลก 4,400บาท
กระดังงาแอฟฟิกา1เดียวที่รวมพันธุ์ไม้แปลก 4,400บาท บางพลี สมุทรปราการ

ราคา 4,400.00 บาท /ต้น?

กระดังงาสงขลา
กระดังงาสงขลา ปราจีนบุรี

กระดังงาสงขลา
กระดังงาสงขลา สุวรรณคูหา หนองบัวลำภู

ราคา 100.00 บาท

กระดังงาสงขลา
กระดังงาสงขลา หนองเสือ ปทุมธานี

กระดังงาสงขลา
กระดังงาสงขลา เมืองปราจีนบุรี ปราจีนบุรี

ราคา 80.00 บาท /ต้น

กระดังงาโนรี
กระดังงาโนรี สมุทรปราการ

ราคา 399.00 บาท /ต้น

กระดังงาโนรี
กระดังงาโนรี ชาติตระการ พิษณุโลก

ราคา 399.00 บาท /ต้น

กระดังงาสงขลา
กระดังงาสงขลา เมืองปราจีนบุรี ปราจีนบุรี

ราคา 1,000.00 บาท /ต้น

กระดังงา
กระดังงา ปราจีนบุรี

ราคา 1,000.00 บาท /ต้น

กระดังงาสงขลา ไม้ไทยโบราณ หอมทั้งวัน ออกดอกทั้งปี
กระดังงาสงขลา ไม้ไทยโบราณ หอมทั้งวัน ออกดอกทั้งปี บางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร

ราคา 180.00 บาท

กระดังงา สงขลา
กระดังงา สงขลา แม่ออน เชียงใหม่

กระดังงาไทย
กระดังงาไทย เมืองปราจีนบุรี ปราจีนบุรี

ราคา 200.00 บาท /ต้น

กระดังงาสงขลา
กระดังงาสงขลา องครักษ์ นครนายก

ต้นกระดังา
ต้นกระดังา นนทบุรี

กระดังงาไทย2"
กระดังงาไทย2" เมืองปราจีนบุรี ปราจีนบุรี

กระดังงาไทย
กระดังงาไทย เชียงราย

ราคา 40.00 บาท /ต้น

กระดังงาสงขลา
กระดังงาสงขลา เมืองปราจีนบุรี ปราจีนบุรี

ราคา 80.00 บาท /ต้น

กระดังงาสงขลา
กระดังงาสงขลา แก่งคอย สระบุรี

ราคา 30.00 บาท /ต้น

กระดังงา
กระดังงา เชียงใหม่

ราคา 50.00 บาท

กระดังงาสงขลา
กระดังงาสงขลา บางกรวย นนทบุรี

กระดังงาไทย
กระดังงาไทย เมืองปราจีนบุรี ปราจีนบุรี

ราคา 100.00 บาท

กระดังงา
กระดังงา หนองแขม กรุงเทพมหานคร

กระดังงา
กระดังงา บางแพ ราชบุรี

ราคา 150.00 บาท /ต้น

จังหวัดที่ขายต้นกระดังงา

กรุงเทพมหานคร (3 ร้าน)

เชียงราย (1 ร้าน)

เชียงใหม่ (3 ร้าน)

นครนายก (1 ร้าน)

นนทบุรี (2 ร้าน)

ปทุมธานี (3 ร้าน)

ปราจีนบุรี (12 ร้าน)

พิษณุโลก (1 ร้าน)

ราชบุรี (1 ร้าน)

สมุทรปราการ (2 ร้าน)

สระบุรี (2 ร้าน)

หนองบัวลำภู (1 ร้าน)

ดูสินค้าหมวด ต้นกระดังงา ทั้งหมดในเว็บ

เมล็ดพันธุ์กระดังงา

ขายเมล็ด?พร้อม?เพาะ?กระดังวาสงขลา
ขายเมล็ด?พร้อม?เพาะ?กระดังวาสงขลา เมืองระยอง ระยอง

ราคา 1.00 บาท

จังหวัดที่ขายเมล็ดพันธุ์กระดังงา

ระยอง (1 ร้าน)

ดูสินค้าหมวด เมล็ดพันธุ์กระดังงา ทั้งหมดในเว็บ

ต้นกล้ากระดังงา

ต้นกล้ากระดังงา
ต้นกล้ากระดังงา ท่าม่วง กาญจนบุรี

ราคา 15.00 บาท /ต้น

กระดังงาสงขลา (ดอกหอม)
กระดังงาสงขลา (ดอกหอม) นครราชสีมา

ราคา 200.00 บาท

กระดังงสงขลา
กระดังงสงขลา เมืองปราจีนบุรี ปราจีนบุรี

ราคา 20.00 บาท /ต้น

ต้นกระดังงาไทย
ต้นกระดังงาไทย หนองเสือ ปทุมธานี

ราคา 70.00 บาท /ต้น

กระดังงาสงขลา
กระดังงาสงขลา แก่งคอย สระบุรี

ราคา 50.00 บาท /ต้น

กระดังงาไทย ต้นละ 100 บาท ค่ะ
กระดังงาไทย ต้นละ 100 บาท ค่ะ กันทรวิชัย มหาสารคาม

ราคา 100.00 บาท

กระดังงา
กระดังงา เมืองปราจีนบุรี ปราจีนบุรี

ต้นกระดังงาสงขลา ราคาต้นละ130฿
ต้นกระดังงาสงขลา ราคาต้นละ130฿ บางพลี สมุทรปราการ

ราคา 130.00 บาท /ต้น

กระดังงาไทย
กระดังงาไทย นากลาง หนองบัวลำภู

ราคา 100.00 บาท

กระดังงาสงขลา
กระดังงาสงขลา เมืองปราจีนบุรี ปราจีนบุรี

ราคา 150.00 บาท /ต้น

ต้นกระดังงา ต้นละ 90บาท สูง 50-70 เซนติเมตร
ต้นกระดังงา ต้นละ 90บาท สูง 50-70 เซนติเมตร ท่าศาลา นครศรีธรรมราช

ราคา 90.00 บาท

กระดังงาเขา
กระดังงาเขา สมุทรปราการ

ราคา 499.00 บาท /ต้น

กระดังงาสงขลา
กระดังงาสงขลา เมืองปราจีนบุรี ปราจีนบุรี

ราคา 80.00 บาท /ต้น

กระดังงาสงขลา (กทม)
กระดังงาสงขลา (กทม) บางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร

ราคา 120.00 บาท /ตัน

กระดังงาสงขลา
กระดังงาสงขลา ลาดพร้าว กรุงเทพมหานคร

ราคา 50.00 บาท /ต้น

กระดังงาสงขลา
กระดังงาสงขลา พิปูน นครศรีธรรมราช

ราคา 50.00 บาท

กระดังงาสงขลา
กระดังงาสงขลา เมืองปราจีนบุรี ปราจีนบุรี

ราคา 80.00 บาท /ต้น

กระดังงาไทย (ต้น)
กระดังงาไทย (ต้น) แก่งคอย สระบุรี

ราคา 15.00 บาท /ต้น

ต้นกระดังงาสงขลา
ต้นกระดังงาสงขลา ปราจีนบุรี

กระดังงาสงขลา
กระดังงาสงขลา นาคู กาฬสินธุ์

จังหวัดที่ขายต้นกล้ากระดังงา

กรุงเทพมหานคร (2 ร้าน)

กาญจนบุรี (1 ร้าน)

กาฬสินธุ์ (1 ร้าน)

นครราชสีมา (1 ร้าน)

นครศรีธรรมราช (2 ร้าน)

ปทุมธานี (1 ร้าน)

ปราจีนบุรี (6 ร้าน)

มหาสารคาม (1 ร้าน)

สมุทรปราการ (2 ร้าน)

สระบุรี (2 ร้าน)

หนองบัวลำภู (1 ร้าน)

ดูสินค้าหมวด ต้นกล้ากระดังงา ทั้งหมดในเว็บ

ลักษณะพฤกษศาสตร์ของต้นกระดังงาไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ การขยายพันธุ์ การดูแล ความเชื่อ สรรพคุณทางสมุนไพร ประโยชน์

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Cananga odorata (Lam.) Hook. f. & Thomson var. odorata

ชื่อภาษาอังกฤษ : KRADANG NGA THAI, Ylang-ylang tree, Ilang-ilang, Cananga tree

ชื่ออื่นๆ : กระดังงาใบใหญ่, กระดังงาใหญ่, สะบันงา, สะบันงาต้น

ลำต้น : เป็นไม้ยืนต้น ทรงพุ่มโปร่ง เรือนยอดรูปไข่ เปลือกต้นสีเทา กิ่งอ่อนมีขนกิ่งแก่ค่อนข้างเกลี้ยง ปลายกิ่งห้อยลู่ลง เปราะหักง่าย

ใบ : เป็นใบเดี่ยว รูปรีหรือรูปไข่ ปลายแหลม โคนมนหรือเว้าและ เบี้ยวเล็กน้อย ขอบเรียบหรือเป็นคลื่น ใบอ่อนมีขนทั่วไป ใบแก่มักมีขนตามเส้นกลางใบ

ดอก : ออกเป็นช่อ ดอกมีขนาดใหญ่สีเขียวเมื่อเป็นดอกอ่อนแล้วเปลี่ยนเป็นสีเหลือง เมื่อบาน กลิ่นหอม ออกดอกตลอดปี

ผล : เป็นผลกลุ่ม ผลรูปไข่ ถึงรูปรีหรือค่อนข้างกลม ผลอ่อนสีเขียว ผลสุกสีเขียวคล้ำจนเกือบดำ ผิวเรียบ ก้านผลยาว

เมล็ด : สีน้ำตาลอ่อน รูปไข่แบน

กระดังงา

การขยายพันธุ์ของต้นกระดังงาไทย

ตอนกิ่ง, เพาะเมล็ด

การดูแลต้นกระดังงาไทย

ปลูกได้ในดินร่วน ต้องการน้ำปานกลาง ชอบแดดจัด ไม่ค่อยมีโรคและแมลงรบกวน เจริญเติบโตเร็ว ผลัดใบน้อย ทนน้ำขังแฉะ ทนแล้ง

สรรพคุณทางสมุนไพรของต้นกระดังงาไทย

- ดอก แก้ลมวิงเวียน ชูกำลัง บำรุงหัวใจ แก้อ่อนเพลีย กระหายน้ำ แก้ไข้จากโลหิตเป็นพิษ บำรุงโลหิต บำรุงธาตุ

- ใบ รักษาโรคหืด รักษาดรคผิวหนัง เป็นยาขับปัสสาวะ

- ต้นและกิ่งก้าน เป็นยาขับปัสสาวะ

- เปลือกต้น แก้ท้องเสีย ขับปัสสาวะผิดปกติ รักษาโรคผิวหนัง

- ราก เป็นยาคุมกำเนิด

- เกสร เป็นยาแก้ร้อนใน กระหายน้ำ ช่วยเจริญอาหาร แก้โรคตา

- น้ำมันหอมระเหย ขับลม ฆ่าเชื้อโรค บำรุงประสาท แก้อาการซึมเศร้า แก้หอบหือ ลดความดันโลหิต

ความเชื่อของต้นกระดังงาไทย

เป็นไม้มงคลที่ควรปลูกทางทิศตะวันออก จะเป็นสิริมงคล สร้างชื่อเสียง เงินทองให้กับครอบครัว และควรปลูกวันพุธ เพราะเชื่อว่าต้นกระดังงาไทยจะให้ดอกบานสะพรั่งทั้งต้น

ประโยชน์ของต้นกระดังงาไทย

- ลำต้น เนื้อไม้ใช้ทำก้านไม้ขีด

- ดอก ใช้อบน้ำทำน้ำเชื่อม และปรุงขนมหวาน

- น้ำมันจากดอกที่แก่จัด นำมาปรุงน้ำ อบ น้ำหอม เครื่องสำอาง

- เปลือก นำมาทำเป็นเชือก

- ดอกแห้ง ใช้ผสมกับดอกไม้หอมอื่นๆ ทำบุหงา

- ปลูกเป็นไม้ประดับ


ลักษณะพฤกษศาสตร์ของต้นกระดังงาสงขลา ชื่อวิทยาศาสตร์ การขยายพันธุ์ การดูแล สรรพคุณทางสมุนไพร ประโยชน์

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Cananga odorara (Lamk.) Hook.f.& Th var.fruticosa

ชื่อภาษาอังกฤษ : Ilang.-Ilang., Drawf ylang ylang, Fragrant cananga, Macassar oil plant

ชื่อภาษาอังกฤษ : Ilang.-Ilang., Drawf ylang ylang, Fragrant cananga, Macassar oil plant

ลำต้น : เป็นไม้พุ่ม ทรงพุ่มกลม เปลือกลำต้นเป็นสีเทาอมสีน้ำตาล เนื้อไม้เปราะ กิ่งตั้งฉากกับลำต้นปลายย้อยลู่ลง

ใบ : เป็นใบเดี่ยว รูปรี ปลายใบแหลม โคนใบมน ปลายใบแหลม โคนใบรูปลิ่ม ขอบใบเรียบหรือหยักเล็กน้อย แผ่นใบเป็นสีเขียวบางและอ่อน

ดอก : เป็นดอกเดี่ยวออกเป็นกระจุกที่ปลายกิ่ง ดอกสีเหลืองอมเขียว มีกลิ่นหอม ออกดอกตลอดปี

ผล : รูปทรงกลมรี ปลายผลแหลม ผิวผลเรียบ ผลอ่อนเป็นสีเขียว เมื่อแก่แล้วจะเปลี่ยนเป็นสีเขียวอมเหลือง

เมล็ด : รูปไข่ ทรงแบนสีน้ำตาลอ่อน

กระดังงา

การขยายพันธุ์ของต้นกระดังงาสงขลา

ตอนกิ่ง เพาะเมล็ด

การดูแลต้นกระดังงาสงขลา

ปลูกได้ในดินร่วน ต้องการน้ำมาก ชอบแดดเต็มวัน ไม่ค่อยมีโรคและแมลงรบกวน ไม่ทนต่อน้ำท่วมขัง

สรรพคุณทางสมุนไพรของต้นกระดังงาสงขลา

- ต้น กิ่ง ก้าน เป็นยาขับปัสสาวะ

- ดอก บำรุงร่างกาย บำรุงหัวใจ บำรุงธาตุ บำรุงเลือด แก้ไข้ แก้อ่อนเพลีย วิงเวียน จุกเสียด

- เกสร เจริญอาหาร แก้ไข้ แก้อาการร้อนใน

- ใบ รักษาโรคผิวหนัง กลากเกลื้อน แก้คัน ปัสสาวะพิการ

- เปลือกต้น รักษามะเร็งเพลิง

- ราก คุมกำเนิด

ประโยชน์ของต้นกระดังงาสงขลา

- ดอกสด นำมาสกัดเป็นน้ำมันหอมระเหย น้ำหอม และเครื่องหอม

- เนื้อไม้ และใบ ทำบุหงา น้ำหอม และน้ำมันหอมระเหย

- ใช้ปลูกเป็นไม้ประดับตามสวน


ลักษณะพฤกษศาสตร์ของกระดังงาไทย (3480)

ชื่อวิทยาศาสตร์:  Cananga odorata Hook.f.&Thomson var.odorata
ชื่อวงศ์:  Annonaceae
ชื่อสามัญ:  Ylang-ylang tree, Perfume Tree, llang-llang,
ชื่อพื้นเมือง:  กระดังงาใบใหญ่ กระดังงา กระดังงาใหญ่ สะบันงา สะบันงาต้น
ลักษณะทั่วไป:
        ต้น  ไม้ต้นขนาดกลาง สูง 10-20 เมตร  ต้น เปลา ตรง ผลัดใบ เรือนยอดรูปสามเหลี่ยม กิ่งแตก ตั้งฉากกับลำต้น แต่ปลายกิ่งลู่ลง  เปลือกสีเทาเกลี้ยง มีรอยแผลใบขนาดใหญ่ทั่วไป
        ใบ  เดี่ยว เรียงสลับ ทรงรี  โคนใบมนหรือเว้าและเบี้ยวเล็กน้อย ปลายใบแหลม แผ่นใบบาง  ขอบใบเรียบหรือเป็นคลื่น ใบแก่มีขนตามเส้นแขนงใบและเส้นกลาง ใบ   เส้นแขนงใบข้างละ 5-9 เส้น
            ดอก  สีเหลืองหรือเหลืองอมเขียว  ออกรวมกันเป็นช่อแบบช่อซี่ร่มบนกิ่งเหนือรอยแผลใบ ออกดอกเป็นช่อสั้น ห้อยลง 3-6 ดอก กลีบเลี้ยง 3 กลีบ มีขน กลีบดอกเรียงเป็น 2 ชั้นๆละ 3 กลีบ กลีบเป็นแถบบาง ขอบเป็นคลื่นเล็กน้อย กลีบชั้นในแคบกว่าชั้นนอกเล็กน้อย โคนกลีบด้านในสีม่วงอมน้ำตาล ดอกอ่อนกลีบสีเขียว เมื่อแก่เปลี่ยนเป็นสีเหลือง กลิ่นหอม เกสรเพศผู้มีจำนวนมาก เกสรเพศเมียมีหลายอัน อยู่แยกกัน
        ฝัก/ผล  กลุ่ม รูปไข่ผิวของมันเรียบ อยู่บนแกนตุ้มกลม 4-15 ผล ผลอ่อนสีเขียว ผลแก่สีดำ
        เมล็ด  สีน้ำตาลอ่อน รูปไข่แบน
ฤดูกาลออกดอก:  มีดอกและผลเกือบตลอดปี
การขยายพันธุ์:  เพาะเมล็ด  ตอนกิ่ง
ส่วนที่มีกลิ่นหอม:  ดอก
การใช้ประโยชน์:  
    -    เอามาทำเป็นเครื่องหอม ใช้แต่งกลิ่นเครื่องสำอาง น้ำอบ ทำน้ำหอม
    -    ใช้ทำน้ำเชื่อมหรือปรุงขนมหวาน ต่าง ๆ เช่น ทับทิมกรอบ ข้าวต้มน้ำวุ้น สลิ่ม เป็นต้น
    -    ไม้ประดับ
    -    เป็นสมุนไพร
    -    น้ำมันหอมระเหย ใช้ทอดกับน้ำมะพร้าวทำน้ำมันใส่ผม  น้ำมันหอมระเหยจากดอกที่แก่จัด เรียกว่า Ylang - Ylang oil
ถิ่นกำเนิด:  พม่า   มาเลเซีย   ออสเตรเลีย   อินโดนีเซีย    ฟิลิปปินส์    ศรีลังกา
แหล่งที่พบ:  ทั่วประเทศ
ส่วนที่ใช้บริโภค:  ดอก
การปรุงอาหาร:  การแต่งกลิ่นอาหาร ทำได้โดยนำดอกที่แก่จัด ลมควันเทียนหรือเปลวไฟจากเทียนเพื่อให้ต่อมน้ำหอมในกลีบดอกแตก และส่งกลิ่นหอมออกมา แล้วนำไปเสียบไม้ ลอยน้ำในภาชนะปิดสนิท 1 คืน เก็บดอกทิ้งตอนเช้า นำน้ำไปคั้นกะทิ หรือปรุงอาหารอื่นๆ
สรรพคุณทางยา:
    -    เนื้อไม้ รักษาโรคปัสสาวะพิการ
    -    ใบ รักษาโรคผิวหนัง แก้คัน
    -    ดอก มีน้ำมันหอม ใช้เข้าเครื่องหอมทุกชนิด แก้ลมวิงเวียน แก้ไข้  บำรุงธาตุ บำรุงหัวใจ



กระดังงาเป็นไม้มงคล (3481)

ความมงคล

กระดังงา คือ การทำให้ เกิดเสียงดังไปไกล เมื่อกระดังนั้น มีความคล้องจองกับ กระดังงา ชาวไทยโบราณ จึงเชื่อสืบต่อกันว่า ชื่อกระดังงานั้น มีความหมายที่ดี และยังถือได้ว่า เป็นต้นไม้ที่มีชื่อ เป็นสิริมงคลอีกชนิดหนึ่ง

การปลูกต้นกระดังงา เอาไว้ภายใน บริเวณบ้านนั้น จะช่วยให้สมาชิกในบ้าน รวมทั้ง วงศ์ตระกูล มีชื่อเสียงโด่งดัง ก้องกังวานไปแสนไกล และมีลาภยศสรรเสริญ ผู้คนทั่วไปต่างก็รู้จัก และ นับหน้าถือตา ยังมีความเชื่ออีกว่าเสียงที่ดังนั้นมีความไพเราะ เพราะพริ้งมาก และดังก้องไปจนถึงสวรรค์ชั้นฟ้า ให้เทพบุตรเทพธิดาได้ยินเลยทีเดียว นอกจากนั้น กระดังงายังเสริมมงคลในทางเสน่ห์ คือ จะเสริมให้คุณ มีเสน่ห์เป็นที่รักใคร่ของคนทั่วไป และมีชีวิตที่งดงามหอมนวลตลอดไป


ตำแหน่งที่ปลูก

ควรจะลงมือปลูกในวันพุธ เพราะคนโบราณเชื่อว่า การปลูกต้นไม้เพื่อให้ดอกสวยสดนั้น ควรจะปลูกในวันพุธ ดอกไม้นั้นจึงจะเบ่งบานเต็มต้น เป็นที่เจริญตา เจริญใจ กระดังงานั้นเหมาะที่จะนำมาปลูกทางทิศตะวันออกของตัวบ้าน เพราะจะช่วยเพิ่มสิริมงคล ให้แก่ บ้านเรือน ชื่อเสียง จะขจรขจาย ไปทั่วทุกทิศทางราวกับแสงอาทิตย์ที่สาดส่องไปทั่วพื้นดิน


ลักษณะกระดังงาสงขลา (3514)

ชื่อวิทยาศาสตร์:  Cananga odorata (Lank.) Hook. f. et. Th. var. fruticosa (Craib) J. Sincl.
ชื่อวงศ์:  ANNONACEAE
ชื่อสามัญ:  Dwarf Ylang-Ylang
ชื่อพื้นเมือง:  กระดังงาสาขา กระดังงาเบา(ใต้) กระดังงอ (มาเลเซีย, ยะลา)
ลักษณะทั่วไป:
        ต้น  ไม้พุ่ม สูง 1-2.5 เมตร
        ใบ  เดี่ยว เรียงสลับออกเป็นพุ่มแน่นทึบ รูปใข่หรือรูปขอบขนาน กว้าง 7-9 ซม. ยาว 10-18 ซม.
        ดอก  ดอกจะมีทั้งดอกเดี่ยวและดอกช่อ โดยดอกจะออกเป็นกลุ่มๆ  ที่บริเวณปลายกิ่ง ดอกมีสีเขียวแกมเหลืองออกดอกตลอดปี  ลักษณะดอกจะมีกลีบดอกยาวเรียว บิดเป็นเกลียวเล็กน้อยและอ่อนนิ่ม จำนวนกลีบดอกประมาณ 15 - 24 กลีบ เรียงตัวเป็นชั้น ชั้นละประมาณ 3 กลีบ ความกว้างของกลีบดอกประมาณ 0.5 - 1.8 Cm ยาว 5 - 9 Cm ตอนเป็นดอกอ่อนจะมีสีเขียวอ่อน เมื่อแก่จะเปลี่ยนสีเป็นสีเหลืองทอง เมื่อดอกหลุดร่วงก็จะให้ผล ลักษณะคล้ายดอกกระดังงาไทย แต่ขนาดเล็กกว่า กลีบกระดังงาสงขลาบิดเป็นเกลียวมากกว่า และกลิ่นหอมน้อยกว่า แต่มีดอกดกกว่ากระดังงาไทย
        ฝัก/ผล  เป็นกลุ่มผล ผลกลม ผลอ่อน สีเขียว ผลแก่ สีแดงอมม่วง
        เมล็ด  มีเมล็ดหลายเมล็ด
ฤดูกาลออกดอก:  ออกดอกตลอดปี
การปลูก:  ชอบแสงสว่าง และความชุ่มชื้นของดินสูง ต้องปลูกในที่แจ้งถึงจะให้ดอก หากนำไปปลูกในที่ร่มจะทำให้ลำต้นยาวเรียวไม่แข็งแรง แตกกิ่งน้อยและไม่ค่อยจะออกดอก  
การดูแลรักษา:  การรดน้ำตอนเล็กๆ ก็รดน้ำวันละสองครั้งเช้า - เย็น พอโตขึ้นอาจจะรดวันละครั้งก็ได้
การขยายพันธุ์:  การเพาะเมล็ด และตอนกิ่ง และปักชำ
ส่วนที่มีกลิ่นหอม:  ดอก
การใช้ประโยชน์:
    -    สมุนไพร
    -    เป็นส่วนประกอบในการทำขนม
    -    เนื้อไม้และใบ ทำบุหงา อบร่ำ ทำน้ำหอม เป็นน้ำมันหอมระเหย  (Essential oil)
    -    ผสมกับครีม-โลชั่น จะช่วยลดความมันบนใบหน้าได้
    -    ไม้ประดับ
ถิ่นกำเนิด: จังหวัดสงขลา
   
แหล่งที่พบ:  ภาคใต้ของประเทศไทย
ส่วนที่ใช้บริโภค:  ดอก
การปรุงอาหาร:  ใช้เป็นส่วนประกอบในการอบขนม อบข้าวแช่
สรรพคุณทางยา:
    -    ดอก เป็นยาบำรุงหัวใจ นำดอกมาสกัดน้ำมันหอมระเหย แก้ลมวิงเวียน
    -    ราก คุมกำเนิด
    -    ต้น กิ่ง ก้าน เป็นยาขับปัสสาวะ แก้ปัสสาวะพิการ
    -    ใบ รักษาโรคผิวหนัง กลากเกลื้อน แก้คัน ขับปัสสาวะ แก้ปัสสาวะพิการ ขับปัสสาวะพิการ
    -    เกสร  แก้ร้อนในกระหายน้ำ แก้ไข้จับ แก้ไข้เพื่อลม แก้ไข้เพื่อปถวีธาตุ แก้โรค ช่วยให้เจริญอาหาร

*ถือเป็นพืชถิ่นเดียวและพืชหายาก ควรอนุรักษ์ไว้ให้ดี


ลักษณะพฤกษศาสตร์ของกระดังงาจีน (3515)

ชื่อวิทยาศาสตร์:  Artabotrys hexapetalus (L.f.) Bhandari.
ชื่อวงศ์:  ANNONACEAE
ชื่อสามัญ:  Climbing Ilang-Ilang
ชื่อพื้นเมือง:  กระดังงาจีน (ภาคกลาง), สะบันงาจีน (ภาคเหนือ), การเวก สะบันงาเครือ
ลักษณะทั่วไป:
    ต้น  ไม้เถาเนื้อแข็ง เลื้อยพาดซุ้มหรือค้าง ผิวของกิ่งก้านค่อนข้างเรียบ ยอดอ่อนมีขน
    ใบ  เดี่ยว เรียงสลับ รูปขอบขนานแกมรี ปลายแหลม โคนสอบ ขอบเรียบ แผ่นใบด้านบนสีเขียวเข้มเป็นมัน ด้านล่างสีจางกว่าและมีขนประปรายตามเส้นกลางใบ
    ดอก  ช่อดอกออกตรงข้ามกับใบ ก้านแบนและโค้งงอคล้ายขอ ดอกใหญ่มี 1-5 ดอก ออกตามส่วนโค้งของก้านช่อดอก ดอกอ่อนสีเขียว มีขน เมื่อแก่สีเหลือง ผิวค่อนข้างเรียบ กลิ่นหอม กลีบเลี้ยง 3 กลีบ รูปสามเหลี่ยม ปลายกลีบกระดกขึ้น กลีบดอกหนาแข็งเรียงสลับกัน 2 ชั้น ชั้นละ 3 กลีบ รูปขอบขนานปลายแหลม โคนกลีบเว้าคล้ายรูปไข่ป้อมและโค้งแนบกับโคนกลีบชั้นใน มีจุดกระสีแดงที่ด้านในของโคนกลีบ เนื้อกลีบหนา ด้านในมีสันกลางกลีบ กลีบดอกชั้นในคล้ายกลีบชั้นนอกแต่ขนาดเล็กกว่า เกสรเพศผู้เล็ก มีจำนวนมาก เกสรเพศเมียมีหลายอัน อยู่แยกกัน แต่ยอดเกสรเพศเมียมีเมือกเหนียวติดกัน  ก้านช่อดอกส่วนหนึ่งแบนและโค้งคล้ายตะขอใช้เกาะเกี่ยว
    ฝัก/ผล  เป็นผลกลุ่ม กลุ่มละ 4-20 ผล แต่ละผลรูปรีป้อมหรือรูปไข่กลับ ก้านผลสั้น ผลอ่อนสีเขียว เมื่อแก่เปลี่ยนเป็นสีเหลือง แต่ละผลมี 1-2 เมล็ด
ฤดูกาลออกดอก:  ตลอดปี
การขยายพันธุ์:  เพาะเมล็ด หรือโดยการตอนและปักชำ
ส่วนที่มีกลิ่นหอม:  ดอก
การใช้ประโยชน์:  ไม้ประดับ
ถิ่นกำเนิด:  อินเดีย ศรีลังกา และจีนตอนใต้
แหล่งที่พบ:  ทั่วประเทศ