ค้นหาสินค้า

โอ่ง

ขายโอ่งราคาถูก มีให้เลือกหลายร้าน

โอ่ง

โอ่งดินเผาลายก้นหอย
โอ่งดินเผาลายก้นหอย ตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร

โอ่งน้ำ
โอ่งน้ำ โชคชัย นครราชสีมา

ราคา 400.00 บาท /1 ใบ

โอ่งมอส
โอ่งมอส กรุงเทพมหานคร

โอ่งมังกร 75 x 80 ซม.
โอ่งมังกร 75 x 80 ซม. เมืองราชบุรี ราชบุรี

โอ่งมังกร
โอ่งมังกร ด่านช้าง สุพรรณบุรี

โอ่งมังกรเซรามิค มีฝาปิด (ไซด์ 28 นิ้ว)
โอ่งมังกรเซรามิค มีฝาปิด (ไซด์ 28 นิ้ว) บางใหญ่ นนทบุรี

ราคา 8,500.00 บาท /ชุด

โอ่ง/มอส
โอ่ง/มอส สารภี เชียงใหม่

ราคา 250.00 บาท

โอ่งดินเผาสีธรรมชาติ
โอ่งดินเผาสีธรรมชาติ โชคชัย นครราชสีมา

โอ่ง8ปีบ
โอ่ง8ปีบ เมืองราชบุรี ราชบุรี

โอ่งดินเผาพร้อมฐาน พร้อมฝาปิด 25x45ซ.ม.
โอ่งดินเผาพร้อมฐาน พร้อมฝาปิด 25x45ซ.ม. โชคชัย นครราชสีมา

ราคา 350.00 บาท /ชิ้น

โอ่งติดมอสส์
โอ่งติดมอสส์ เมืองกำแพงเพชร กำแพงเพชร

ราคา 500.00 บาท /ชุด

โอ่ง
โอ่ง เมืองภูเก็ต ภูเก็ต

โอ่งดินเผาสุโขทัย
โอ่งดินเผาสุโขทัย คลองสามวา กรุงเทพมหานคร

ราคา 1,250.00 บาท /ใบ

โอ่งหลากหลายลาย
โอ่งหลากหลายลาย สีคิ้ว นครราชสีมา

โอ่งแต่งบ้านและสวน
โอ่งแต่งบ้านและสวน บางใหญ่ นนทบุรี

โอ่งมังกร โอ่งฮวงจุย โอ่ง พร้อมฝาปิด
โอ่งมังกร โอ่งฮวงจุย โอ่ง พร้อมฝาปิด สมุทรปราการ

ราคา 650.00 บาท /1ชิ้น

โอ่งน้ำกิน
โอ่งน้ำกิน ลาดหลุมแก้ว ปทุมธานี

โอ่งลายคราม
โอ่งลายคราม เชียงใหม่

ราคา 3,500.00 บาท

โอ่งน้ำ
โอ่งน้ำ สายไหม กรุงเทพมหานคร

บ้านแมว
บ้านแมว คลองสามวา กรุงเทพมหานคร

กระถางชวนชม
กระถางชวนชม ลาดหลุมแก้ว ปทุมธานี

ราคา 7,200.00 บาท /ชิ้น

อ่างหินล้าง
อ่างหินล้าง วังน้อย พระนครศรีอยุธยา

ราคา 900.00 บาท /ใบ

หญ้าพาสพะลั่ม
หญ้าพาสพะลั่ม ลำลูกกา ปทุมธานี

ราคา 15.00 บาท /เมตร

จังหวัดที่ขายโอ่ง

กรุงเทพมหานคร (6 ร้าน)

กำแพงเพชร (1 ร้าน)

เชียงใหม่ (2 ร้าน)

นครราชสีมา (4 ร้าน)

นนทบุรี (4 ร้าน)

ปทุมธานี (3 ร้าน)

พระนครศรีอยุธยา (1 ร้าน)

ภูเก็ต (1 ร้าน)

ราชบุรี (2 ร้าน)

ลำปาง (1 ร้าน)

สมุทรปราการ (1 ร้าน)

สุพรรณบุรี (1 ร้าน)

ดูสินค้าหมวด โอ่ง ทั้งหมดในเว็บ

การเพาะเห็ดในโอ่ง (3723)

วัสดุและอุปกรณ์ในการเพาะเห็ดในโอ่ง

   

โอ่ง มังกร (โอ่งแตก หรือโอ่งร้าว) จำนวน 1 ใบ ก้อนเชื้อเห็ดนางฟ้าหรือเห็ดถุงชนิดอื่นๆ จำนวน 20 ก้อน ซาแรนหรือกระสอบป่าน สำหรับปิดปากโอ่ง จำนวน 1 ผืน ไม้ไผ่ตีเป็นตะแกรง ขนาดความกว้างxยาว ให้พอดีกับขนาดโอ่งที่เตรียมไว้ กรอบไม้ทำฐานรองพื้นโอ่ง (ด้านนอก) ทรายหยาบ รองพื้นโอ่ง และเชือกฟาง เป็นต้น

   

 

   

ขั้นตอนการเพาะ

   

1. นำไม้ที่เตรียมไว้สำหรับทำฐานรองโอ่งด้านนอก มาตีล้อมกรอบเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส โดยให้มีพื้นที่ว่างระหว่างกรอบไม้เพียงพอต่อการวางพื้นที่ผิวของโอ่งที่จะ วางในแนวนอน ไม่ให้โอ่งกลิ้ง

   

2. นำโอ่งมาวางในแนวนอน บนฐานกรอบไม้ที่เตรียมไว้ในบริเวณที่มีร่มเงา และอากาศถ่ายเทสะดวก

   

3. นำทรายหยาบมาเทรองพื้นโอ่งที่วางไว้ในแนวนอน กะให้มีความหนาประมาณ 2-3 นิ้ว เพื่อกักเก็บความชื้น

   

4. นำตะแกรงไม้ไผ่ที่เตรียมไว้มาวางด้านในโอ่ง โดยให้มีพื้นที่ว่างด้านบนมากกว่าพื้นที่ว่างด้านล่าง

   

5. นำก้อนเชื้อเห็ดมาเปิดดอก ด้วยวิธีการเปิดจุกก้อนเชื้อด้านบน บังคับให้ดอกออกเป็นกระจุกด้านบน ก่อนวางเรียงก้อนเชื้อเห็ดจนเต็ม (แล้วปิดปากโอ่งด้วยกระสอบป่านหรือซาแรน แล้วใช้เชือกผูกยึดกระสอบ (ด้านบน) กับขอบปากโอ่งให้แน่น โดยปล่อยชายกระสอบให้สามารถเปิดขึ้นลงได้

   

6. รดน้ำบนก้อนเชื้อเห็ด เช้า-กลางวัน-เย็น ถ้าพบว่ากองเห็ดแห้งเกินไป ควรเพิ่มความชื้นโดยใช้กระบอกฉีดน้ำ พ่นน้ำให้เป็นฝอยๆ ในโอ่ง เพื่อเป็นการให้ความชื้นแก่ก้อนเห็ด แล้วปิดปากโอ่งไว้ หลังเพาะประมาณ 1 สัปดาห์ จะเริ่มมองเห็นตุ่มสีขาวเล็กๆ เกิดขึ้นบนก้อนเชื้อเห็ด ในช่วงนี้ต้องระวังเรื่องการรดน้ำ อย่าให้ดอกเห็ดโดนน้ำเป็นอันขาด มิฉะนั้น ดอกจะฝ่อและเน่าเสียหาย แต่ยังคงต้องพ่นน้ำให้ความชื้นอยู่ทุกวัน

   

7. หลังจากสังเกตเห็นตุ่มดอกเห็ด ประมาณ 7-10 วัน ตุ่มเห็ดจะพัฒนาเป็นดอกเห็ดที่สามารถเก็บมารับประทานได้จนกว่าดอกเห็ดจะหมด รุ่น ซึ่งใช้ระยะเวลาประมาณ 1-3 เดือน

   

ควรระมัดระวังเรื่องความชื้น ในช่วงวันที่ 1-3 อย่าให้อุณหภูมิภายในโอ่งร้อน หรือขาดความชื้น ถ้าร้อนเกินไปให้เปิดปากกระสอบป่านเพื่อระบายอากาศออกจากโอ่ง

   

น้ำที่ ใช้สำหรับการรดก้อนเชื้อเห็ดจะต้องเป็นน้ำที่จืด มีค่า pH เป็นกลาง ไม่มีคลอรีนเจือปน เรื่องน้ำที่ใช้รดก้อนเห็ดนั้นสำคัญมาก ถ้าน้ำกร่อยหรือเค็มจะส่งผลให้เห็ดไม่ออกดอก น้ำที่ดีที่สุดคือ น้ำฝน หรือจะใช้น้ำประปาที่ผ่านการขจัดคลอรีนออกแล้วก็ได้ผลดีเช่นกัน (การรองน้ำประปาตากแดดทิ้งไว้ประมาณ 2 วัน จะช่วยขจัดคลอรีนออกไปได้)

   

เห็ด ที่จะนำมาใช้ในการเพาะแต่ละชนิดนั้น จะมีความต้องการและลักษณะนิสัยที่แตกต่างกัน เช่น เห็ดประเภทนางรม หูหนู และเป๋าฮื้อ จะต้องการสภาพอากาศที่ร้อนชื้นจนถึงสภาพอากาศตามปกติ ส่วนเห็ดนางฟ้า เห็ดหอม จะต้องการอากาศที่ค่อนข้างเย็นในการเจริญเติบโต การเพาะเลี้ยงเห็ดชนิดใดๆ ควรจะมีการจัดการสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของเห็ดชนิดนั้นๆ ด้วย

   

เอื้อเฟื้อข้อมูลโดย มติชนบท เทคโนโลยีชาวบ้าน