ค้นหาสินค้า

รสสุคนธ์

ขายต้นรสสุคนธ์ ราคาถูก การปลูกรสสุคนธ์ วิธีดูแล และการขยายพันธุ์ ชื่อวิทยาศาสตร์ ชื่อสามัญ ลักษณะรสสุคนธ์ ดอกและสรรพคุณ

ต้นรสสุคนธ์

รสสุคนธ์
รสสุคนธ์ วัฒนา กรุงเทพมหานคร

ราคา 50.00 บาท

รสสุคนธ์
รสสุคนธ์ สวนหลวง กรุงเทพมหานคร

รสสุคนธ์
รสสุคนธ์ ชาติตระการ พิษณุโลก

ราคา 89.00 บาท /ต้น

รสสุคนธ์
รสสุคนธ์ เชียงใหม่

รสสุคนธ์
รสสุคนธ์ เมืองปราจีนบุรี ปราจีนบุรี

ราคา 150.00 บาท

รสสุคนธ์
รสสุคนธ์ นครชัยศรี นครปฐม

จังหวัดที่ขายต้นรสสุคนธ์

กรุงเทพมหานคร (2 ร้าน)

เชียงใหม่ (1 ร้าน)

นครปฐม (1 ร้าน)

นครราชสีมา (1 ร้าน)

ปราจีนบุรี (1 ร้าน)

พิษณุโลก (1 ร้าน)

ดูสินค้าหมวด ต้นรสสุคนธ์ ทั้งหมดในเว็บ

ต้นกล้ารสสุคนธ์

รสสุคนธ์ หอมเย็นรับปลายฝนต้นหนาว
รสสุคนธ์ หอมเย็นรับปลายฝนต้นหนาว บางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร

ราคา 150.00 บาท

รสสุคนธ์ ไม้เลื้อยกระถางละ250ค่ะ
รสสุคนธ์ ไม้เลื้อยกระถางละ250ค่ะ บางพลี สมุทรปราการ

ราคา 250.00 บาท /ต้น

รสสุคนธ์แดง
รสสุคนธ์แดง นากลาง หนองบัวลำภู

ราคา 100.00 บาท

รสสุคนธ์ (กทม)
รสสุคนธ์ (กทม) บางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร

ราคา 120.00 บาท /ตัน

จังหวัดที่ขายต้นกล้ารสสุคนธ์

กรุงเทพมหานคร (2 ร้าน)

สมุทรปราการ (1 ร้าน)

หนองบัวลำภู (1 ร้าน)

ดูสินค้าหมวด ต้นกล้ารสสุคนธ์ ทั้งหมดในเว็บ

ลักษณะพฤกษศาสตร์ของต้นรสสุคนธ์

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Tetracera loureiri (Finet & Gagnep.) Pierre ex Craib

ชื่อภาษาอังกฤษ : Dillenia

ชื่ออื่นๆ : รสสุคนธ์ขาว, มะตาดเครือ, สุคนธรส, เสาวรส

ลำต้น : เป็นไม้เลื้อย ไม่ผลัดใบ ลำต้นสีน้ำตาล แตกกิ่งก้านมาก

ใบ : เป็นใบเดี่ยว รูปรีถึงรูปขอบขนาน ปลายใบกลมถึงมน โคนใบมนถึงแหลม ผิวใบเรียบหรือมีขนสากเล็กน้อย แผ่นใบสีเขียว ขอบใบจักฟันเลื่อย

ดอก : ออกเป็นช่อที่ซอกใบปละปลายยอด ดอกสีขาวหรือชมพูอ่อน มีกลิ่นหอม ออกดอกตลอดปี

ผล : เป็นผลเดี่ยว รูปไข่เบี้ยว มีจะงอยที่ส่วนปลาย

เมล็ด : รูปไข่ สีดำ มีเยื่อหุ้มเมล็ดสีแดงสด

รสสุคนธ์

การขยายพันธุ์ของต้นรสสุคนธ์

เพาะเมล็ด ตอนกิ่ง และทาบกิ่ง

การดูแลต้นรสสุคนธ์

ปลูกได้ในดินร่วน ต้องการน้ำปานกลาง ชอบแดดจัด

สรรพคุณทางสมุนไพรของต้นรสสุคนธ์

- ลำต้น, ราก แก้ฝี แก้บวม

- ใบ แก้สะอึก

- ดอก บำรุงหัวใจ แก้ลม

ประโยชน์ของต้นรสสุคนธ์

- ปลูกเป็นไม้ประดับ

- เถา ใช้ทำเชือก

- ใบแก่ รูดคาวปลาไหล


ลักษณะพฤกษศาสตร์ของรสสุคนธ์ (3460)

ชื่อวิทยาศาสตร์:    Tetracera loureiri Pierre.
ชื่อวงศ์:    Dilleniaceae
ชื่อสามัญ:    Rose-Su-Kon
ชื่อพื้นเมือง:    เถาะปดใบเลื่อม (ประจวบคีรีขันธ์) บอระคน อรคนธ์ (ตรัง) ปดคาย ปดเลื่อน (สุราษฎร์ธานี) ปดน้ำมัน (ปัตตานี) ปะละ สะปัลละ (มลายู-นราธิวาส) มะตาดเครือ รสสุคนธ์ขาว สุคนธรส เสาวรส (กรุงเทพฯ) ย่านปด (นครศรีธรรมราช)
ลักษณะทั่วไป:
    ต้น    เป็นไม้เถาเนื้อแข็ง กิ่งอ่อนและยอดอ่อนมีขนแข็งสั้นๆ สากคายมือ
    ใบ    เดี่ยว เรียงเวียนสลับ แผ่นใบรูปรี รูปไข่กลับถึงรูปขอบขนาน ผิวใบสากคาย ขอบใบหยัก ปลายใบแหลมทู่ถึงมนกลม โคน. ใบแหลมถึงสอบแคบ เส้นแขนงใบ 10-15 คู่
    ดอก    สีขาวถึงขาวอมชมพู กลิ่นหอม เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 ซม. ออกเป็น ช่อแยกแขนง ช่อหนึ่งๆ 40-80 ดอกกลีบเลี้ยง 5  กลีบ รูปรีถึงรูปไข่ กลีบดอก 3 กลีบ รูปไข่ กลีบปลายเว้า เกสรตัวผู้มีมาก
    ฝัก/ผล    สีส้มถึงแดง มี 2-3 ผล อยู่รวมกันเป็นกระจุกๆ ละ 3-4 ผล แต่ละผลรูปไข่ ปลายเป็นจะงอยแหลม
    เมล็ด    รูปไข่  1-2 เมล็ด มีเนื้อหุ้มสีแดง
ฤดูกาลออกดอก:    ออกดอกเป็นระยะตลอดปี โดยเฉพาะพฤศจิกายน - กุมภาพันธ์
การขยายพันธุ์:    เพาะเมล็ด, ตอนกิ่ง
ส่วนที่มีกลิ่นหอม:    ดอกมีกลิ่นหอมแรงมากในเวลากลางวันและหอมอ่อนๆ ในเวลากลางคืน
การใช้ประโยชน์:    ปลูกเป็นไม้ดอกไม้ประดับ และสมุนไพร
ถิ่นกำเนิด:    เอเชียเขตร้อน
แหล่งที่พบ:    ขึ้นตามป่าละเมาะ ป่าผลัดใบ และริมทะเล