ลักษณะพฤกษศาสตร์ของไผ่น้ำเต้า (3732)
ชื่อวิทยาศาสตร์: Bambusa ventricosa McClure
ชื่อวงศ์: GRAMINEAE
ชื่อสามัญ: Buddha s Belly bamboo, Phai namtao
ลักษณะทั่วไป:
ต้น ลำต้นอยู่เหนือดินตั้งตรงเอง ผิวเรียบ เห็นข้อปล้องชัดเจน ต้นอ่อนสีเขียวอ่อน ต้นแก่สีเขียวอมเหลือง
ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนก ใบด้านบนมีลักษณะมันเรียบ ส่วนด้านท้องใบมีลักษณะหยาบ ขอบใบมีความคม ใบแก่สีเขียวเข้มเรียวแหลม
การดูแลรักษา: ชอบแสงแดดจัด ต้องการน้ำพอสมควร เจริญเติบโตได้ในดินทุกชนิด
การขยายพันธุ์: การแตกหน่อ หรือ แยกกอ
การใช้ประโยชน์:
- ไม้ประดับ
- ทำเป็นของชำร่วยได้ เช่น ทำแจกัน
- บริโภค
- สมุนไพร
ถิ่นกำเนิด: ประเทศจีน
ส่วนที่ใช้บริโภค: หน่อสามารถนำมาทำอาหารรับประทานได้
สรรพคุณทางยา:
- ใบ นำมาปรุงเป็นยาขับฟอกโลหิตระดูที่เสีย
- ตาไม้ไผ่ สุมไฟเอาถ่าน ใช้รับประทานแก้ร้อนในกระหายน้ำ
- ราก มีรสกร่อยและใช้รวมกับยาขับโลหิต ขับระดู
ชื่อวงศ์: GRAMINEAE
ชื่อสามัญ: Buddha s Belly bamboo, Phai namtao
ลักษณะทั่วไป:
ต้น ลำต้นอยู่เหนือดินตั้งตรงเอง ผิวเรียบ เห็นข้อปล้องชัดเจน ต้นอ่อนสีเขียวอ่อน ต้นแก่สีเขียวอมเหลือง
ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนก ใบด้านบนมีลักษณะมันเรียบ ส่วนด้านท้องใบมีลักษณะหยาบ ขอบใบมีความคม ใบแก่สีเขียวเข้มเรียวแหลม
การดูแลรักษา: ชอบแสงแดดจัด ต้องการน้ำพอสมควร เจริญเติบโตได้ในดินทุกชนิด
การขยายพันธุ์: การแตกหน่อ หรือ แยกกอ
การใช้ประโยชน์:
- ไม้ประดับ
- ทำเป็นของชำร่วยได้ เช่น ทำแจกัน
- บริโภค
- สมุนไพร
ถิ่นกำเนิด: ประเทศจีน
ส่วนที่ใช้บริโภค: หน่อสามารถนำมาทำอาหารรับประทานได้
สรรพคุณทางยา:
- ใบ นำมาปรุงเป็นยาขับฟอกโลหิตระดูที่เสีย
- ตาไม้ไผ่ สุมไฟเอาถ่าน ใช้รับประทานแก้ร้อนในกระหายน้ำ
- ราก มีรสกร่อยและใช้รวมกับยาขับโลหิต ขับระดู